ลักษณะส่วนบุคคล และลักษณะของงานที่มีผลต่อความก้าวหน้าในอาชีพของบุคลากรสถาบันอุดมศึกษาเอกชน
Main Article Content
บทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยลักษณะส่วนบุคคล และลักษณะของงานที่มีผลต่อความก้าวหน้าในอาชีพของบุคลากรสถาบันอุดมศึกษาเอกชน โดยศึกษากลุ่มตัวอย่าง 280 คน โดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล พร้อมทั้งสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณที่ระดับนัยสำคัญที่ 0.05 พบว่า ปัจจัยลักษณะส่วนบุคคล ได้แก่ ประสบการณ์การทำงาน รายได้ของบุคลากร และปัจจัยลักษณะของงาน ได้แก่ ความหลากหลายด้านทักษะ ความสำคัญของงาน ความมีอิสระในงาน และผลสะท้อนจากงาน เป็นปัจจัยที่ส่งผลต่อความก้าวหน้าของบุคลากร ผลที่ได้นำไปประยุกต์ใช้ในการพัฒนาบุคลากรให้เกิดความก้าวหน้าในอาชีพต่อไป
Article Details
“ข้าพเจ้าและผู้เขียนร่วม (ถ้ามี) ขอรับรองว่า บทความที่เสนอมานี้ยังไม่เคยได้รับการตีพิมพ์และไม่ได้อยู่ระหว่างกระบวนการพิจารณาลงตีพิมพ์ในวารสารหรือแหล่งเผยแพร่อื่นใด ข้าพเจ้าและผู้เขียนร่วมยอมรับหลักเกณฑ์การพิจารณาต้นฉบับ ทั้งยินยอมให้กองบรรณาธิการมีสิทธิ์พิจารณาและตรวจแก้ต้นฉบับได้ตามที่เห็นสมควร พร้อมนี้ขอมอบลิขสิทธิ์บทความที่ได้รับการตีพิมพ์ให้แก่สถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์หากมีการฟ้องร้องเรื่องการละเมิดลิขสิทธิ์เกี่ยวกับภาพ กราฟ ข้อความส่วนใดส่วนหนึ่งและ/หรือข้อคิดเห็นที่ปรากฏในบทความข้าพเจ้าและผู้เขียนร่วมยินยอมรับผิดชอบแต่เพียงฝ่ายเดียว”
References
Ayre, C. & Scally, A. J. (2014). Critical Values for Lawshe’s Content Validity Ratio: Revisiting the Original Methods of Calculation. Measurement and Evaluation in Counseling and Development, 47(1), 79-86.
Delamotte, Y. & Takezawa, S. (1984). Quality of Working Life in International Perspective. Geneva: International Labour Office.
Hackman, J. R. & Oldham. (1980). G. R. Work Re–design. Reading, MA: Addison-Wesley.
Hall, D. T. (2001). Career in and out of organizations. Thousand Oaks, CA: Sage.
Khananaphon, T. (2010). The Way to Succeed by Dhanin Chearavanont. Bangkok: Happy Book Publishing. [in Thai]
Lawshe, C. H. (1975). A Quantitative Approach to Content Validity. Personnel Psychology, 28, 563-575.
Mondy, R. W., Noe, R. M. & Premeaux, S. R. (1993). Human Resource Management. Boston: Allyn and Bacon.
Pathanawanit, S. (2001). Concept and phenomenology of labour. Bangkok: Edison Press Products. [in Thai]
Rakdhum, S. (2010). Career Advancement of Workers in a Non-Governmental Organization. Master of Labour and Welfare Development, Faculty of Social Administration, Thammasat University. [in Thai]
Srisa-art, B. (2002). Initial Research. Bangkok: Sureewitthayasat. [in Thai]
Thudam, P. & Chaikaew, A. (2013). Factors Affecting Career Advancement for Women Executives in Public Organization: A Review of Literature. Executive Journal, 33(3), 25-32. [in Thai]
Wadeecharoen, W. (2013). Human Resource Management: concept and theory to Practice. Bangkok: Se-Education Public Company Limited. [in Thai]
Yamane, T. (1967). Statistics: An Introductory Analysis. New York: Harper and Row.