การช่วยเหลือผู้เรียนที่มีความาแตกต่างกันในรายวิชาการพัฒนาทักษะการพูดภาษาอังกฤษ (ENL 1004) และมีความเกี่ยวเนื่องถึงการรับรู้ภาษาที่สอง (ภาษาอังกฤษ) ของสถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์
Main Article Content
บทคัดย่อ
บทคัดย่อ
บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อนำเสนอความรู้เกี่ยวกับทฤษฎีการเรียนการสอนและการนำเสนอประสบการณ์การในการประยุกต์เพื่อการสอนภาษาอังกฤษและการนำเสนอถึงความแตกต่างของผู้เรียนภาษาทั้งเจ็ดลักษณะที่มีความแตกต่างกันในการเรียนรู้ภาษาอังกฤษ โดยทั่วไปแล้วอาจารย์ผู้สอนภาษาอังกฤษอาจจะไม่มีการย้ำกับตัวเองว่าผู้เรียนนั้นมีความแตกต่างกันในด้านพฤติกรรมการเรียนภาษาอังกฤษ ซึ่งผู้เรียนบางคนนั้นมีความตั้งใจแต่ส่วนมากแล้วดูเหมือนจะเป็นการถูกบังคับต่อการเรียนรู้ โดยการกล่าวถึงนักศึกษาของสถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์ซึ่งในอดีตเขาจะต้องเรียนภาษาอังกฤษในวิชาภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร (GE 1002 ถึง GE 1005) แต่ในปัจจุบันได้เปลี่ยนเป็นวิชาการพัฒนาทักษะการพัฒนาการพูดภาษาอังกฤษ (ENL 1004, RT ซึ่งเกี่ยวข้องกับภาษาอังกฤษในร้านสะดวกซื้อ เซเว่นอีเลฟเวน และ Non RT ซึ่งเกี่ยวข้องกับภาษาอังกฤษธุรกิจทั่วไปเช่น ธุรกิจอาหาร, โลจิสติก อื่นๆ เป็นต้น) ซึ่งในสถานการณ์การสอนของผู้เขียนบทความได้สอนในวิชาทักษะการพัฒนาการพูดภาษาอังกฤษ โดยที่ผู้เขียนเองรู้ถึงความแตกต่างของผู้เรียน พฤติกรรมการเรียนจะนำไปสู้ความแตกต่างของการรับรู้ภาษาของผู้เรียน ดังนั้นผู้สอนจึงควรความตระหนักถึงทฤษฎีการสอนเพื่อที่จะช่วยผู้เรียนในการรับรู้ภาษาที่สองโดยเฉพาะอย่างยิ่งการเรียนรู้ภาษาอังกฤษและการนำไปประยุกต์กับการเรียนในรายวิชาการพัฒนาทักษะการพูดภาษาอังกฤษของสถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์ ดังนั้นอาจารย์ผู้สอนจึงควรที่จะสามารถประยุกต์ทฤษฎีการเรียนรู้ในอนาคตต่อไปเพื่อที่จะทำให้พผู้เรียนมีการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมการเรียนไปในเชิงบวก
Article Details
“ข้าพเจ้าและผู้เขียนร่วม (ถ้ามี) ขอรับรองว่า บทความที่เสนอมานี้ยังไม่เคยได้รับการตีพิมพ์และไม่ได้อยู่ระหว่างกระบวนการพิจารณาลงตีพิมพ์ในวารสารหรือแหล่งเผยแพร่อื่นใด ข้าพเจ้าและผู้เขียนร่วมยอมรับหลักเกณฑ์การพิจารณาต้นฉบับ ทั้งยินยอมให้กองบรรณาธิการมีสิทธิ์พิจารณาและตรวจแก้ต้นฉบับได้ตามที่เห็นสมควร พร้อมนี้ขอมอบลิขสิทธิ์บทความที่ได้รับการตีพิมพ์ให้แก่สถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์หากมีการฟ้องร้องเรื่องการละเมิดลิขสิทธิ์เกี่ยวกับภาพ กราฟ ข้อความส่วนใดส่วนหนึ่งและ/หรือข้อคิดเห็นที่ปรากฏในบทความข้าพเจ้าและผู้เขียนร่วมยินยอมรับผิดชอบแต่เพียงฝ่ายเดียว”
References
Atkinson and Shiffrin (1986). Psychology for Language Teacher: A Social Constructivist Approach.Williams, M. and Burden, R., L. (Eds). Cambridge: Cambridge University Press.
Brown, H., D. (1994). "Comaring and Contrasting First and Second Language Acqusition". Principles of Language Learning and Language Teching. Englewood: Prentice-Hall Regents.
Bruner, J. (1997). "Constructivism”. Psychology for Language Teacher: A Social Constructivist Approach. Williams, M. and Burden, R., L. (Eds). Cambridge: Cambridge University Press.
Ellis, R. (1990). Understanding Second Language Acquisition. Oxford: Oxford University Press.
Erikson, E., Maslow, A. and Roger, C. (1997). "Humanistic Approach”. Psychology for Language Teacher: A Social Constructivist Approach. Williams, M. and Burden, R., L. (Eds). Cambridge:Cambridge University Press.
Feuerstein, R. (1997). Psychology for Language Teacher: A Social Constructivist Approach. Williams,
M. and Burden, R., L. (Eds). Cambridge: Cambridge University Press.
Krashen (1985). Theory of Second language Acquisition. The five Hypotheses. Boston: Mass Heinle and Heinle Publishers.
Maslow, A. (1997). "Humanistic Approach". Psychology for Language Teacher: A Social Constructivist
Approach. Williams, M. and Burden, R., L. (Eds). Cambridge: Cambridge University Press.
Meighan and Meighan. (1990). Psychology for Language Teacher: A Social Constructivist Approach.
Williams, M. and Burden, R., L. (Eds). Cambridge: Cambridge University Press.
Piaget, Bruner, J. and Kelly, G. (1997). "Constructivism”. Psychology for Language Teacher: A Social
Constructivist Approach. Williams, M. and Burden, R., L. (Eds). Cambridge: Cambridge University Press.
Roger, C. (1997). "Humanistic Approach". Psychology for Language Teacher: A Social Constructivist Approach. Williams, M. and Burden, R., L. (Eds). Cambridge: Cambridge University Press.
Schank and Abelson (1977). Psychology for Language Teacher: A Social Constructivist Approach. Williams, M. and Burden, R., L. (Eds). Cambridge: Cambridge University Press.
Skinner, B., F. (1957). “The Positive School”. Psychology for Language Teacher: A Social Constructivist
Approach. Williams, M. and Burden, R., L. (Eds). Cambridge: Cambridge University Press.
Vygotsky, L. (1978). Psychology for Language Teacher: A Social Constructivist Approach. Williams,M. and Burden, R., L. (Eds). Cambridge: Cambridge University Press.
Williams, M. and Burden, R., L, (1997). Psychology for Language Teacher: A Social Constructivist Approach. Cambridge: Cambridge University Press.