การสื่อสารการตลาดแบบบูรณาการเพื่อภาคธุรกิจ

Main Article Content

ณฐวัฒน์ คณารักสมบัติ

บทคัดย่อ

บทคัดย่อ

ในปัจจุบันกระแสสังคมมีความซับซ้อนมากขึ้น การพัฒนาเทคโนโลยีเพื่อใช้ในการสื่อสารจึงเป็นสิ่งจำเป็น ข้อมูลจากสำนักงานยุทธศาสตร์และการวางแผนเศรษฐกิจมหภาค (2556 : 31) พบว่า แนวโน้ม    ในการใช้จ่ายเพื่อการอุปโภคและบริโภคมีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา การสื่อสารการตลาดแบบบูรณาการ   จึงมีบทบาทสำคัญต่อผู้ประกอบการทางธุรกิจ เนื่องจากการสื่อสารการตลาดแบบบูรณาการเป็นการบูรณาการศาสตร์ด้านการสื่อสารและการตลาดไว้ด้วยกัน จากตัวอย่างของแบรนด์ลิปตันที่นำกลยุทธ์การสื่อสารการตลาดแบบบูรณาการมาใช้ ทำให้ส่วนแบ่งตลาดจากเดิม 40% ขึ้นเป็น 43-45 % ในตลาดชาพร้อมดื่มที่มีมูลค่ากว่า 1,800 ล้านบาท (บิสิเนสไทย,2547) จึงเห็นได้ว่าการสื่อสารการตลาดแบบบูรณาการทำให้เกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผลสูงสุดต่อสินค้าและบริการรวมถึงการมีภาพลักษณ์ที่ดีต่อผู้บริโภคอีกด้วย

 

Abstract

In the present, the development of communication technology is essential for more complex society. The information from Macroeconomic Strategy and Planning Office (2556: 31) suggested that trends in consumer spending have always changed. Integrated marketing communications will be the critical role to the business because there is the integration between communication and marketing together. For example, Lipton brand strategy use the integrated marketing communications for increased the market share from 40% up to 43-45% in worth over 1,800 million baht of ready to drink (RTD) tea market. (businessthai,2004) Thus, integrated marketing communications can be the most efficient and most effective for products and services, including a good image to consumers.

 


Article Details

บท
บทความวิชาการ

References

บิสิเนสไทย. (2547). ลิปตัน Comeback ใช้ IMC แบรนด์, สืบค้นเมื่อ 1 พฤศจิกายน 2556, จาก http://www.arip.co.th/businessnews.php?id=407563

ประดิษฐ์ จุมพลเสถียร. (2547). การสร้างแบรนด์และการสื่อสารการตลาด กรุงเทพฯ : แพคอินเตอร์กรุ๊ป จํากัด.

ผู้จัดการออนไลน์. (2556). เปิดคัมภีร์ “ฟิลิป ค็อตเลอร์” ทําธุรกิจด้วยจิตวิญาณพร้อมปรับตัวสู่ยุค 4.0. สืบค้นเมื่อ 1 พฤศจิกายน 2556, จาก http://www.manager.co.th/iBizchannel/viewNews.aspx?NewsID=9560000030670

ภราดี พิริยะพงษ์รัตน์. (2545). วารสารมหาวิทยาลัยคริสเตียน 8, 1 (มกราคม-เมษายน): 23-36.

สมวงศ์ พงศ์สถาพร. (2549). ต้นกําเนิดแบรนด์, กรุงเทพฯ : อี.ไอ. สแควร์ พับลิชชิ่ง.

สํานักยุทธศาสตร์และการวางแผนเศรษฐกิจมหภาค. (2556). Economic Outlook : ภาวะเศรษฐกิจไทย ไตรมาสที่สอง และแนวโน้มปี 2556. เอกสารแถลงข่าว เวลา 09.30 น. วันที่ 19 สิงหาคม 2556: 31.

Philip Kotler. (2000). Marketing Management: The Millennium Edition. New Jersey: Prentice. Hall.

_________(2004). Marketing Management: Analysis, Planning, Implement and Control. USA: Prentice Hall Inc.