แนวทางการจัดการวัฒนธรรมของชุมชนบ้านกลาง ในยุคประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน

Main Article Content

คทาเทพ พงศ์ทอง

บทคัดย่อ

     บทความนี้มีวัตถุประสงค์ คือ 1) นำเสนอแนวทางการจัดการวัฒนธรรมชุมชนบ้านกลาง อำเภอเมือง จังหวัดปทุมธานี 2) เพื่อศึกษาการจัดการวัฒนธรรมของชุมชนในอดีต โดยใช้แนวทางการวิจัยเชิงคุณภาพ เน้นการสัมภาษณ์แบบเจาะลึก จากผู้ให้ข้อมูลที่สำคัญ 30 คน และใช้การวิเคราะห์ ตีความ ควบคู่บริบท และใช้สถิติเชิงพรรณนาประกอบเพื่อให้เกิดความชัดเจนเป็นรูปธรรม


     ผลการศึกษาพบว่า 1) แนวทางการจัดการวัฒนธรรมชุมชนบ้านกลางในยุคประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนบูรณาการวงจร Deming (PDCA) และขับเคลื่อนผ่านกลไกคชศร (ครอบครัว ชุมชน ศาสนา และโรงเรียน) 2) ชุมชนมีแนวทางการจัดการวัฒนธรรมชุมชนสอดคล้องกับวงจร Deming อันสามารถปรับปรุงการดำเนินกิจกรรมและปรับเปลี่ยนได้ตามบริบทได้อย่างเหมาะสมและทัศนะของประชาชนในชุมชน มีความชัดเจนในความต้องการรักษาอัตลักษณ์วัฒนธรรมท้องถิ่นอันสะท้อนชาติพันธุ์ของตนเองเอาไว้ ทั้งไทย มอญ และจีน และมีความเป็นไปได้สูงในกำรจัดกิจกรรมต่างๆ ข้อเสนอแนะจากการศึกษาครั้งนี้ ชุมชนควรสร้างเครือข่ายที่เข้มแข็ง อาทิ การประสานภาครัฐและเอกชน การทำระบบการจัดการและการเสนอโครงการเพื่อจัดสรรงบประมาณ การวางแผนการประชาสัมพันธ์ภายในและภายนอกอย่างมีประสิทธิภาพ ระบบฐานข้อมูลเพื่อการศึกษา อนุรักษ์ เผยแพร่ และสืบสานอย่างยั่งยืน

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

Benyapa, S. (2011). Social capital in the management of eco-tourism at Klong Suan Old Market, Bang Bo District, Samut Prakan Province. Master of Art Bangkok (Social Development Administration), National Institute of Development Administration. [in Thai]

Bonwara, C. (2010). Factors affecting the participation in the project that promoting the responsibility of the social entrepreneur (CSR-DIW). Bangkok: National Institute of Development Administration. [in Thai]

Chatthip, N. (2012). Modernization and Community Perspective (2nd ed). Bangkok: Sangsan. [in Thai]

Department of Research and Development. (2012). Social Innovator of Klongpon: Social capital for sustainable development. Bangkok: King Prajadhipok’s institute. [in Thai]

Department of Strategic and Evaluation. (2013). ASEAN Community. Bangkok: National Offce of Buddhism. [in Thai]

Pornchai, K. (2012). Model and Community Drive of Learning Center in the drug protection at Torraneekham Community, Khokfad, Nongjok, Bangkok. Doctor of Philosophy (Social Development and Environmental Management), National Institute of Development Administration. [in Thai]

Samai, S. (2000). Thai’s rural, Phathumthani. Bangkok: Odian Store. [in Thai]

Sanit, S. (1997). Thai Society Study Model and methodology. Bangkok: Samcharoen Panich. [in Thai]

Santichai, E. (2006). Strategic Tourism Management. Bangkok: Samcharoen Panich. [in Thai]

Sanit, S. (1997). Thai Society Study Model and methodology. Bangkok: Samcharoen Panich. [in Thai]

Supannee, C. (2009). Qualitative Research for development. Bangkok: Prayoonsanthai. [in Thai]

Suthep, P. (2002). Leadership Skills: Practice and theory. Chiang Rai: Faculty of Management Science, Chiang Rai Rajabhat University. [in Thai]

Thanate, C. (2006). Citizen and Rural Development. Bangkok: Kobfai. [in Thai]

Thanik, L. (2011). Cultural Resources Management. Bangkok: Princess Maha Chakri Sirindhorn Anthropology Centre (Public Organisation). [in Thai]

Taengpun, P. (2012). The urban development and the monument conservation of Ayutthaya ancient city and its environs, 1939-2001. Master of Arts Degree in History, Srinakarinworot University. [in Thai]