ความสัมพันธ์เชิงสาเหตุของการรับรู้ความยุติธรรม การรับรู้การสนับสนุนจากองค์กร ความเหนื่อยหน่ายในงาน และผลการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ตรวจดวงตราการเข้าเมือง
Main Article Content
บทคัดย่อ
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาปัจจัยเชิงสาเหตุของความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้ความยุติธรรม การรับรู้การสนับสนุนจากองค์กร ความเหนื่อยหน่ายในงาน และผลการปฏิบัติงาน 2) ตรวจสอบความสอดคล้อง
ของโมเดลความสัมพันธ์กับข้อมูลเชิงประจักษ์ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้คือ เจ้าหน้าที่ของรัฐในการตรวจดวงตราการเข้าเมือง (Immigration) หน่วยงานแห่งหนึ่งในประเทศไทย การศึกษาครั้งนี้ใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือซึ่งมีค่าน้ำหนักองค์ประกอบอยู่ระหว่าง .707-.907 และมีค่าความเชื่อมั่นอยู่ระหว่าง .869-.924 และวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้โมเดลสมการโครงสร้าง (SEM)
ผลการวิจัยพบว่า 1) การรับรู้ความยุติธรรมมีอิทธิพลทางบวกต่อการรับรู้การสนับสนุนขององค์กรและการรับรู้การสนับสนุนขององค์กรมีอิทธิพลทางบวกกับผลการปฏิบัติงานตรงข้ามกับความเหนื่อยหน่ายในงานที่มีอิทธิพลทางลบกับผลการปฏิบัติงาน 2) รูปแบบความสัมพันธ์เชิงสาเหตุ ผลการวิเคราะห์ข้อมูลพบว่า โมเดลการวิเคราะห์มีความสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์ (χ2/df = 1.670, p = .000, GFI = .909, AGFI = .873, CFI = .965, RMSEA = .058) แสดงว่าโมเดลมีความเหมาะสมพอดีกับข้อมูลเชิงประจักษ์อยู่ในเกณฑ์ดี นอกจากนี้ยังมีการนำเสนอประโยชน์ของการศึกษาทั้งทางทฤษฎีและทางการปฏิบัติเพื่อใช้เป็นแนวทางในการพัฒนาประสิทธิภาพในองค์กร ตลอดจนข้อเสนอแนะสำหรับการวิจัยในอนาคต
Article Details
“ข้าพเจ้าและผู้เขียนร่วม (ถ้ามี) ขอรับรองว่า บทความที่เสนอมานี้ยังไม่เคยได้รับการตีพิมพ์และไม่ได้อยู่ระหว่างกระบวนการพิจารณาลงตีพิมพ์ในวารสารหรือแหล่งเผยแพร่อื่นใด ข้าพเจ้าและผู้เขียนร่วมยอมรับหลักเกณฑ์การพิจารณาต้นฉบับ ทั้งยินยอมให้กองบรรณาธิการมีสิทธิ์พิจารณาและตรวจแก้ต้นฉบับได้ตามที่เห็นสมควร พร้อมนี้ขอมอบลิขสิทธิ์บทความที่ได้รับการตีพิมพ์ให้แก่สถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์หากมีการฟ้องร้องเรื่องการละเมิดลิขสิทธิ์เกี่ยวกับภาพ กราฟ ข้อความส่วนใดส่วนหนึ่งและ/หรือข้อคิดเห็นที่ปรากฏในบทความข้าพเจ้าและผู้เขียนร่วมยินยอมรับผิดชอบแต่เพียงฝ่ายเดียว”
References
Alpkan, L., Bulut, C., Gunday, G., Ulusoy, G. & Kilic, K. (2010). Organizational support for intrapreneurship and its interaction with human capital to enhance innovative performance. Management decision, 48(5), 732-755.
Bakker, A. B., Demerouti, E. & Verbeke, W. (2004). Using The Job Demands-Resources Model to Predict Burnout and Performance. Human Resource Management, 43, 83-104.
Becker, G. S. (1993). Human Capital: A Theoretical and Empirical Analysis with Special Reference to Education (3rd ed.). Chicago: University of Chicago Press.
Blau, P. M. (1964). Exchange and power in social life. NY: John Wiley.
Blundell, R., Dearden, L., Meghir, C. & Sianesi, B. (1999). Human Capital Investment: the Returns
from Education and Training to the Individual, the Firm and the Economy. Fiscal Studies, 20(1), 1-23.
Bollen, K. A. (1989). Structural Equations with Latent Variables. NY: John Wiley and Sons.
Cordes, C. L. & Dougherty, T. W. (1993). A Review and an Integration of Research on Job Burnout. Academy of Management Review, 18(4), 621-656.
Dess, G. G. & Picken, J. C. (2000). Changing Roles: Leadership in the 21st Century. Organizational Dynamics, 28(3), 18-34.
Eisenberger, R., Armeli, S., Rexwinkel, B., Lynch, P. D. & Rhoades, L. (2001). Reciprocation of Perceived Organizational Support. Journal of Applied Psychology, 86(1), 42-51.
Eisenberger, R., Fasolo, P. & Davis-Lamastro, V. (1990). Perceived Organizational Support and Employee Diligence, Commitment, and Innovation. Journal of Applied Psychology, 75(1), 51-59.
Eisenberger, R., Huntington, R., Hutchison, S. & Sowa, D. (1986). Perceived Organizational Support. Journal of Applied Psychology, 71(3), 500-507.
Fan, D., Cui, L., Zhang, M. M., Zhu, C. J., Härtel, C. E. & Nyland, C. (2014). Influence of High Performance Work Systems on Employee Subjective Well-Being and Job Burnout: Empirical Evidence from the Chinese Healthcare Sector. The International Journal of Human Resource Management, 25(7), 931-950.
Folger, R. G. & Cropanzano, R. (1998). Organizational Justice and Human Resource Management. California: Sage.
Hair, J. F. Jr., Anderson, R. E., Tatham, R. L. & Black, W. C. (1995). Multivariate Data Analysis (3rd ed.). NY: Macmillan Publishing Company.
Hair, J. F., Black, W. C., Babin, B. J. & Anderson, R. E. (2010). Multivariate Data Analysis (7th ed.). Englewood Cliffs: Prentice Hall.
Hair, J., Black, W., Babin, B., Anderson, R. & Tatham, R. (2006). Multivariate Data Analysis (6th ed.). Uppersaddle River, NJ: Pearson Prentice Hall.
Harrington, J. R. & Lee, J. H. (2015). What Drives Perceived Fairness of Performance Appraisal? Exploring the Effects of Psychological Contract Fulfllment on Perceived Fairness of Performance Appraisal in U.S. Federal Agencies. Public Personnel Employees’ Management, 44(2), 214-238.
Iverson, R. D., Olekalns, M. & Erwin, P. J. (1998). Affectivity, Organizational Stressors, and Absenteeism: A Causal Model of Burnout and its Consequences. Journal of Vocational Behavior, 52, 1-23.