การพัฒนารูปแบบการเรียนรู้บนวิกิโดยใช้กระบวนการจัดการความรู้ เพื่อส่งเสริมทักษะการจัดการเรียนรู้แบบ Active Learning ของนักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู
Main Article Content
บทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) วิเคราะห์ และสังเคราะห์เอกสารงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับรูปแบบการเรียนรู้บนวิกิ โดยใช้กระบวนการจัดการความรู้เพื่อส่งเสริมทักษะการจัดการเรียนรู้แบบ Active Learning 2) พัฒนารูปแบบการเรียนรู้บนวิกิแบบ Active Learning และ 3) เปรียบเทียบทักษะการจัดการเรียนรู้แบบ Active Learning ก่อนเรียน และหลังเรียนกลุ่มเป้าหมายคือ นักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพครูมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรีจำนวน 30 คนโดยออกแบบ และพัฒนางานวิจัยของ Richey และ Klein (2007) 3 ระยะ คือ ระยะที่ 1 การวิเคราะห์ และสังเคราะห์เอกสารงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับรูปแบบ ระยะที่ 2 การพัฒนารูปแบบการเรียนรู้ และระยะที่ 3 การเปรียบเทียบทักษะการจัดการเรียนรู้ เครื่องมือที่ใช้ คือ กระบวนการจัดการแบบ Active Learning แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และแบบประเมินทักษะการจัดการเรียนรู้แบบ Active Learning การวิเคราะห์ข้อมูล คือ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยพบว่า 1) รูปแบบการเรียนรู้บนวิกิแบบ Active Learning มี 4 ขั้น คือ ขั้นแสวงหาความรู้ ขั้นการเรียนรู้อย่างมีปฏิสัมพันธ์ ขั้นการเรียนรู้โดยการปฏิบัติ และขั้นนำเสนอผลงาน 2) การพัฒนารูปแบบการเรียนรู้บนวิกิประกอบด้วย 2 ส่วน คือ ส่วนที่ 1 รูปแบบการเรียนรู้บนวิกิ มีคุณภาพอยู่ในระดับมาก และส่วนที่ 2 รูปแบบการเรียนรู้บนวิกิมีประสิทธิภาพเป็นไปตามเกณฑ์ที่กำหนด และ 3) นักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพครูมีทักษะการจัดการเรียนรู้แบบ Active Learning หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน
Article Details
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
“ข้าพเจ้าและผู้เขียนร่วม (ถ้ามี) ขอรับรองว่า บทความที่เสนอมานี้ยังไม่เคยได้รับการตีพิมพ์และไม่ได้อยู่ระหว่างกระบวนการพิจารณาลงตีพิมพ์ในวารสารหรือแหล่งเผยแพร่อื่นใด ข้าพเจ้าและผู้เขียนร่วมยอมรับหลักเกณฑ์การพิจารณาต้นฉบับ ทั้งยินยอมให้กองบรรณาธิการมีสิทธิ์พิจารณาและตรวจแก้ต้นฉบับได้ตามที่เห็นสมควร พร้อมนี้ขอมอบลิขสิทธิ์บทความที่ได้รับการตีพิมพ์ให้แก่สถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์หากมีการฟ้องร้องเรื่องการละเมิดลิขสิทธิ์เกี่ยวกับภาพ กราฟ ข้อความส่วนใดส่วนหนึ่งและ/หรือข้อคิดเห็นที่ปรากฏในบทความข้าพเจ้าและผู้เขียนร่วมยินยอมรับผิดชอบแต่เพียงฝ่ายเดียว”
References
Aksornwong, R. (2018). The development of learning management capabilities through active learning of teacher professional experience training students. Eastern University of Management and Technology Journal, 15(2), 486-498. [in Thai]
Duangpraket, N., Susaorat, P., & Kasemnet, L. (2017). Proactive problem-based learning management model. Journal of Education, 18(2), 209-224. [in Thai]
Gagne, R. M. (1977). The conditions of learning. Holt Rinehart and Winston.
Jirapunyachot, P. (2012). The Development of online learning model for subject culture for life of bachelor degree students [Master’s thesis]. Srinakharinwirot University. [in Thai]
Khunla, N., & Suttapong, K. (2015). Knowledge management for building a successful organization. Executive Journal, 35(1), 133-141. [in Thai]
Na Songkhla, J. (2007). E-Instructional design. Center for Textbooks and Academic Documents Faculty of Education, Chulalongkorn University. [in Thai]
Office of the Basic Education Commission. (2017). Operational guidelines for model schools to reduce learning time and increase learning time: Active learning. Ministry of Education.
Panich, W. (2013). Creating learning for the 21st century. S Charoen Printing Co., Ltd. [in Thai]
Promphasit, P. (2016). Handbook of learning management “Active Learning (AL) for Huso at KPRU”. Faculty of Humanities and Social Sciences, Kamphaeng Phet Rajabhat University. [in Thai]
Richey, R. C., & Klein, J. (2007). Design and development research. Erbaum Associates.
Rueangsuwan, C. (2010). Active learning. Academic Journal Faculty of Pharmacy, Chiang Mai University, 14(11), 1-15. [in Thai]
Thong-on, Y. (2018). Active learning: Participatory learning. Knowledge Management Journal, 1(1), 1-7. [in Thai]
Wikipedia. (2019). Wiki. https://en.wikipedia.org/wiki/Wiki [in Thai]