ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความตั้งใจในการเลือกซื้อผลิตภัณฑ์อาหารพร้อมปรุงพร้อมทานแช่แข็งภายใต้เครื่องหมายรับรองฮาลาล ของผู้บริโภคมุสลิมในกรุงเทพมหานคร
Main Article Content
บทคัดย่อ
บทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความตั้งใจในการเลือกซื้อผลิตภัณฑ์อาหาร
พร้อมปรุงพร้อมทานแช่แข็งภายใต้เครื่องหมายรับรองฮาลาลของผู้บริโภคมุสลิมในกรุงเทพมหานคร วิธีดำเนินการวิจัยใช้การวิจัยเชิงสำรวจ โดยกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ มุสลิมในกรุงเทพมหานคร จำนวน 400 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถาม การวิเคราะห์ข้อมูลใช้ 1) สถิติวิเคราะห์เชิงพรรณนา ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 2) สถิติเชิงอนุมาน ได้แก่ การวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณ ซึ่งผลการวิจัยพบว่า ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความตั้งใจในการเลือกซื้อผลิตภัณฑ์อาหารพร้อมปรุงพร้อมทานแช่แข็งภายใต้เครื่องหมายรับรองฮาลาลของผู้บริโภคมุสลิมในกรุงเทพมหานคร ได้แก่ ความเชื่อถือที่มีต่อผลิตภัณฑ์ ความเชื่อถือต่อผู้ประกอบการ ความเชื่อถือต่อสถาบันรับรองฮาลาล ครอบครัว และการรับรู้ความสามารถในการควบคุมพฤติกรรม ซึ่งปัจจัยทั้ง 5 ด้านอธิบายการผันแปรของความตั้งใจในการเลือกซื้อผลิตภัณฑ์อาหารพร้อมปรุงพร้อมทานแช่แข็งภายใต้เครื่องหมายรับรองฮาลาลของผู้บริโภคมุสลิมได้ร้อยละ 42.9 โดยเรียงค่าสัมประสิทธิ์การถดถอยมาตรฐานจากมากไปน้อยตามลำดับ แสดงเป็น
สมการได้ดังนี้
ความตั้งใจในการเลือกซื้อผลิตภัณฑ์อาหารพร้อมปรุงพร้อมทานภายใต้เครื่องหมายรับรองฮาลาลของผู้บริโภคมุสลิมในกรุงเทพมหานคร = 0.703 + 0.250 (ความเชื่อถือต่อผลิตภัณฑ์) + 0.192 (ความเชื่อถือต่อผู้ประกอบการ (+ 0.131 (ความเชื่อถือต่อสถาบันรับรองฮาลาล) + 0.127 (ครอบครัว) + 0.096 (ปัจจัยด้านการรับรู้ความสามารถในการควบคุมพฤติกรรม)
Abstract
This research aims to study about the factors that influence the intention to buy ready to cook frozen product under the Halal certification of the Muslim consumer in Metropolitan area.
The research is quantitative research. The Sample of the research is 400 Muslims in Metropolitan area. The tool of the research is questionnaires. The quantitative data analysis used 1) descriptive statistics such as Percentage, means, and standard deviation. 2) Inferential statistics such as multiple regression analysis. The research found that the factor that influencing the intention to buy the ready to cook frozen food under Halal certification of the Muslims in Metropolitan area are product reliability, entrepreneur reliability, Halal certification institution reliability, family, and the efficacy of behavioral control. The variation of 5 factors describes the intention to buy ready to cook frozen food under Halal certification of the Muslim consumer in Metropolitan area about 42.9 percent.
Coefficient regression standard express by descending sequence as the following equation. The intention to buy ready to cook frozen food under Halal certification of Muslim consumer in Metropolitan area = 0.703 + 0.250 (Product reliability) + 0.192 (Entrepreneur reliability) + 0.131 (Halal certification institution reliability) + 0.127 (Family) + 0.096 (The efficacy of behavioral control)
Article Details
“ข้าพเจ้าและผู้เขียนร่วม (ถ้ามี) ขอรับรองว่า บทความที่เสนอมานี้ยังไม่เคยได้รับการตีพิมพ์และไม่ได้อยู่ระหว่างกระบวนการพิจารณาลงตีพิมพ์ในวารสารหรือแหล่งเผยแพร่อื่นใด ข้าพเจ้าและผู้เขียนร่วมยอมรับหลักเกณฑ์การพิจารณาต้นฉบับ ทั้งยินยอมให้กองบรรณาธิการมีสิทธิ์พิจารณาและตรวจแก้ต้นฉบับได้ตามที่เห็นสมควร พร้อมนี้ขอมอบลิขสิทธิ์บทความที่ได้รับการตีพิมพ์ให้แก่สถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์หากมีการฟ้องร้องเรื่องการละเมิดลิขสิทธิ์เกี่ยวกับภาพ กราฟ ข้อความส่วนใดส่วนหนึ่งและ/หรือข้อคิดเห็นที่ปรากฏในบทความข้าพเจ้าและผู้เขียนร่วมยินยอมรับผิดชอบแต่เพียงฝ่ายเดียว”
References
สำนักพิมพ์ เนชั่น. (2557). จำนวนประชากรมุสลิมในประเทศไทย. สืบค้นเมื่อ 28 ธันวาคม 2557, จาก http://www.oknation.net/blog/photo-sigree/2009/10/10/entry-2
ชนาธิป ผลาวรรณ์ และจิรวรรณ ดีประเสริฐ. (2556). พฤติกรรมการซื้อสินค้าและบริการของกลุ่มเบบี้บูมเมอร์ที่ร้านสะดวกซื้อในเขตกรุงเทพมหานคร. วารสารปัญญาภิวัฒน์, 5(1),121-134.
พิเชษฐ์ พรหมใหม่. (2557). ความตั้งใจก่อพฤติกรรมของชาวไทยมุสลิมที่มีต่อการซื้อผลิตภัณฑ์อาหารที่มีเครื่องหมํายรับรองฮาลาล ตามทฤษฎีพฤติกรรมที่มีการวางแผน. สืบค้นเมื่อ 28 ธันวาคม 2557, จาก http://dric.nrct.go.th/bookdetail.php?book_id=179281
พิทักษ์ ก่อเกียรติพิทักษ์. (2557). ศักยภาพด้ํานการผลิตอาหารฮาลาล: ศึกษากรณีจังหวัดปัตตานี. สืบค้นเมื่อ 28 ธันวาคม 2557, จาก http://www.halalthailand.com/halal/subindex.php?page=content&category=&subcategory=2&id=20
พิทักษ์ สุภนันทการ. (2552). แนวโน้มตลาดอาหารฮาลาลสู่ความเป็นไลฟ์สไตล์. กรุงเทพฯ: แฟรนไชส์ วิชั่น.
พีระกานต์ วสุธรพิพัฒน์. (2553). พฤติกรรมการบริโภคอาหารฮาลาลของผู้บริโภคคนไทยในเขตกรุงเทพมหํานคร. วิทยานิพนธ์, มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
มุสลิมไทยโพสต์. (2557). โลกมุสลิมในปัจจุบัน. สืบค้นเมื่อ 25 ธันวาคม 2557, จาก http://info.muslim thaipost.com/main/index.php?page=sub&category=29&id=5311
วราภรณ์ เอื้อการณ์ และอิสระ อุดมประเสริฐ. (2553).การศึกษําปัจจัยทํางกํารตลําดที่มีอิทธิพลต่อการซื้อซ้ำของผู้โดยสารสายการบินต้นทุนต่ำ. ปริญญาวิทยาศาสตร์บัณฑิต, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
วุฒิศักดิ์ พิศสุวรรณ. (2548). ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อระดับความสำคัญที่ให้กับเครื่องหมายรับรองฮาลาลโดยผู้บริโภคชาวมุสลิมในการตัดสินใจซื้อผลิตภัณฑ์อาหาร: กรณีศึกษาของชาวไทยมุสลิมใน 4 จังหวัดชายแดนภาคใต้. BU Academic Review, 4(1).
สมยศ หวังอับดุลเลาะ. (2557). การพัฒนาทักษะการเลือกบริโภคอาหารฮ าลาลของชาวมุสลิมในกรุงเทพมหานคร. สืบค้นเมื่อ 6 ธันวาคม 2557, จาก http://bkkthon.ac.th/userfiles/file/lib_ artB22554/4_2-1-2.pdf
สถิติด้ํานประชากรของประเทศไทย. (2557). สืบค้นเมื่อ 28 ธันวาคม 2557, จาก http://www.BOT.or.th
สถาบันอาหาร. (2557). แนวโน้มอุตสาหกรรมอาหารพร้อมปรุง-พร้อมทานในตลาดโลกกับอนาคตที่สดใส. สืบค้นเมื่อ 29 ธันวาคม 2557, จาก http://webcache.googleusercontent.com/search?q=cache: c5DCkvstcUJ:library.dip.go.th/multim1/ebook
สถาบันมาตรฐานฮาลาลแห่งประเทศไทย. (2557). กํารผลิตเพื่อการบริโภค. สืบค้นเมื่อ 6 ธันวาคม 2557, จาก http://www.halal.or.ththmainsubindex.phppage=sub&category=11&id=68สำนักงานสถิติแห่งชาติ. (2557). สำมะโนประชากรและเคหะ พ.ศ. 2553.สืบค้นเมื่อ14 ธันวาคม 2557, จาก http://service.nso.go.th/nso/nso_center/project/table/files/C-pop/2553/000/10_C-pop_ 2553_000_010000_00400.xls
สันติ บางอ้อ. (2556). สถาบันมาตรฐานอาหารฮาลาล:ความคาดหวังของภาครัฐ.กรุงเทพฯ: สถาบันมาตรฐานฮาลาลแห่งประเทศไทย.
สุวรรณา วิริยะประยูร. (2557). พฤติกรรมการแบ่งปันแลกเปลี่ยนความรู้ตามแนวทฤษฎีพฤติกรรมตามแผน.สืบค้นเมื่อ 15 กันยายน 2557, จาก http://www.hss.moph.go.th/km/upload_file/data1/hdd1
อัมพล ชูสนุก และอังศุมาลิน เฮงมีชัย. (2556). อิทธิพลของคุณภาพการบริการต่อภาพลักษณ์ตราสินค้า คุณค่าตราสินค้า ความพึงพอใจ และความจงรักภักดีของลูกค้าที่ใช้บริการโรงเรียนศิลปะดินสอสี. วํารสํารปัญญําภิวัฒน์, 4(2), 10-23.
อาหารมุสลิมกับอาหารฮาลาล. (2557). สืบค้นเมื่อ 6 ธันวาคม 2557, จาก http://th.jobsdb.com/th/EN/ Resources/JobSeekerArticle/hospitality48.htm?ID=761
Ajzen, I. (1991). The Theory of Planned Behavior. Organization Behavior and Human Decision Processes, 50, 179-211.
_________. (2005). Attitudes, Personality and Behavior. New York: The Dorsey Press.
_________. (2002). Perceived Behavioral Control, Self-efficacy, Locus of Control, and the Theory of Planned Behavior. Journal of Applied Social Psychology,32(4), 1-20.
Bonne, K. & Verbeke, W. (2006). Muslim Consumer’s Motivations Towards Meat Consumption in Belgium: Qualitative Exploratory Insights from Means-end Chain Analysis. Anthropology of Food, 5.
Haward, J. A. (1994). Buyer Behavior in Marketing Strategy. New Jersey: Prentice Hall.
Karijn, B. W. (2008). Muslim Consumer Trust in Halal Meat Status and Control in Belgium. Science Direct. Meat Science, 79, 113-123.
Kotler, P. (2006). Marketing Management. Englewood Cliffs, New Jersey: Prentice-Hall.
Riaz, M. N. (1998). Halal Food - An Insight into a Growing Food Industry Segment. Food Marketing & Technology, (December).
Schiffman, L. G. & Kanuk, L. L. (2000). Customer Behavior. Upper Saddle River, New Jersey: Prentice Hall.
Syed, S. A. & Nazura, M. S. (2011). Applying the Theory of Planned Behavior (TPB) in Halal Food Purchasing. International Journal of Commerce and Management,21(1), 8-20.
Translated Thai References
Auegarn, V. & Udomprasert, I. (2010). The Study of Marketing Factors Affecting the Repurchasing of Low-Cost Airline. Thesis, Kasetsart University. [in Thai]
Bangauo, S. (2013). The Halal Standard Institute: Priorities of Government. Bangkok: The Halal Standard Institute of Thailand. [in Thai]
Khokeatpitak, P. (2014). Potential Halal Food Production: The case of Pattani. Thesis. NIDA Institute. Retrieved December 28, 2014, from http://www.halalthailand.com/halal/sub index.php?page=content&category=&subcategory=2&id=20 [in Thai]
Muslim Food and Halal Food. (2014). Retrieved December 6, 2014, from http://th.jobsdb.com/th/EN/Resources/JobSeekerArticle/hospitality48.htm?ID=761 [in Thai]
Muslimthaipost. (2014). Muslim World Today. Retrieved December 25, 2014, from http://info.muslimthaipost.com/main/index.php?page=sub&category=29&id=5311 [in Thai]
National Food Institute. (2014). Industry Trends, Prepared Food - Ready to Eat in the World Market with a Bright Future. Retrieved December 29, 2014, from http://webcache. googleusercontent.com/search?q=cache:c5DCkvstcUJ:library.dip.go.th/multim1/ebook [in Thai]
National Statistical Office. (2014). Population and Housing Census 2010. Retrieved December 14, 2014, from http://service.nso.go.th/nso/nso_center/project/table/files/C-pop/2553/ 000/10_C-pop_2553_000_010000_00400.xls [in Thai]
OKNation. (2014). Muslim Population in Thailand. Retrieved December 28, 2014, from http://www.oknation.net/blog/photo-sigree/2009/10/10/entry-2 [in Thai]
Palawan, C. & Deeprasert, J. (2013). Purchasing Behavior of Baby Boomer Group at Convenience Stores in Bangkok Metropolitan Areas. Panyapiwat Journal, 5(1),121-134. [in Thai]
Phrommai, P. (2015). The Behavioral Intention of Thai Muslims Towards The Purchase of Certified Halal Food Products with Respect to the Theory of Planned Behavior.Retrieved December 28, 2014, from http://dric. nrct.go.th/bookdetail.php?book_id=179281 [in Thai]
Pisuwan, V. (2005). Factors Affecting the Level of Significance given to the Halal Logo by Muslim Consumers in Making Purchase Decisions on Food Products: A Case Study of the Thai Muslims Living in the Four Most Southern Provinces. Thesis, Bangkok University. [in Thai]
Shoosanuk, A. & Hengmeechai, A. (2013). Influence of Service Quality on Brand Image, Brand Equity Customer Satisfaction and Customer Loyalty of Din Sor See Art School. Panyapiwat Journal, 4(2),10-23. [in Thai]
Statistics of population. (2014). Retrieved December 28, 2014, from http://www.BOT.or.th [in Thai]
Supanontakarn, P. (2009). Muslim population in Thailand Halal food market trends into a lifestyle. Bangkok: Franchise vision. [in Thai]
The Halal Standard Institute of Thailand. (2014). Production to consumption. Retrieved December 6, 2014, from http://www.halal.or.ththmainsubindex.phppage=sub&category=11&id=68 [in Thai]
Vasuthornpipat, P. (2010). Thai Consumers on Consumption Behaviour on Halal Food in Bangkok Metropolitan Area. Thesis, Srinakharinwirot University. [in Thai]
Viriyaprayu, S. (2014). Knowledge Sharing Behavior Based on the Theory of Planned Behavior.Retrieved December 15, 2014, from http://www.hss.moph.go.th/km/upload_file/data1/hdd1 [in Thai]
Wangubdulaug, S. (2014). Development of Halal food choices of Muslims in Bangkok. Retrieved December 6, 2014, from http://bkkthon.ac.th/userfiles/file/lib_artB22554/4_ 2-1-2.pdf[in Thai]