รูปแบบระบบการจัดการเรียนการสอนบนเทคโนโลยีก้อนเมฆเพื่อสนับสนุนการเรียนการสอนด้านคอมพิวเตอร์

Main Article Content

วิชญา รุ่นสุวรรณ์
ดวงกมล โพธิ์นาค
ปรวัฒน์ วิสูตรศักดิ์

บทคัดย่อ

บทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อสังเคราะห์รูปแบบระบบการจัดการเรียนการสอนบนเทคโนโลยีก้อนเมฆ
เพื่อสนับสนุนการเรียนการสอนด้านคอมพิวเตอร์ และ 2) เพื่อประเมินความเหมาะสมของรูปแบบระบบการจัดการเรียนการสอนบนเทคโนโลยีก้อนเมฆเพื่อสนับสนุนการเรียนการสอนด้านคอมพิวเตอร์ จากกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยเป็นผู้เชี่ยวชาญ จำนวนทั้งหมด 7 ท่าน มีขั้นตอนในการศึกษาดังนี้ 1) ศึกษาหลักการและทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง 2) ศึกษาหลักการทำงานเทคโนโลยีก้อนเมฆ 3) สังเคราะห์รูปแบบ 4) นำเสนอรูปแบบขั้นตอนการพัฒนากรอบแนวคิดการพัฒนาระบบการจัดการเรียนการสอนบนเทคโนโลยีก้อนเมฆเพื่อสนับสนุนการเรียนการสอนด้านคอมพิวเตอร์ และ 5) ประเมินความเหมาะสมของรูปแบบ ผลการประเมินความเหมาะสมของรูปแบบพบว่า ค่าเฉลี่ยมีค่าเท่ากับ 3.85 มีค่าเฉลี่ยอยู่ที่ระดับมากและค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 0.37 จากการประเมินผู้วิจัยจะทำการพัฒนารูปแบบและปรับปรุงเพื่อให้มีประสิทธิภาพสูงสุด และเป็นแนวทางในการจัดการศึกษาเพื่อให้พัฒนาต่อไป

Abstract
The purpose of conduct these researches are 1) to conduct the synthesis of the format of computer instruction system for promoting computer learning through cloud computing technology, and 2) To assess the appropriateness of the format of computer instruction system for promoting computer learning through cloud computing technology from the sample group used in conduction the research to be 7 experts altogether. The There are steps for studying as follows: 1) study the relevant principles and theories. 2) Study the principle of cloud computing technology. 3) Conduct the synthesis of the format. 4) the process of developing a framework for development of computer instruction system for promoting computer learning through cloud computing technology. 5) Assess the suitability of model. The assessment found that suitability of the mean value of 3.85 there is a high level at mean and standard deviation was 0.37. By on assessment, the researchers will develop and improve the efficiency and to be the guideline for managing further.

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

กรรวิภา หวังทอง. (2556). การพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ผ่านการประมวลผลแบบกลุ่มเมฆ. การประชุมวิชาการระดับชาติด้านอีเลิร์นนิง, 5-7 สิงหาคม 2556 อาคารอิมแพค ฟอรั่ม เมืองทองธานี. กรุงเทพ: โครงการมหาวิทยาลัยไซเบอร์ไทย สำนักคณะกรรมการอุมศึกษา.

โกศล กิจวัฒนาพานิช. (2549). ระบบการจัดการเนื้อหาและการบริการข้อมูลสำหรับห้องสมุดออนไลน์. สารนิพนธ์วิทยาศาสตร์มหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ.

ดวงกมล โพธิ์นาค. (2555). การจัดกิจกรรมการเรียนรู้บูรณาการกับการจัดการความรู้บนฐานเทคโนโลยีก้อนเมฆเพื่อส่งเสริมทักษะการคิดวิเคราะห์ด้านการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์. การประชุมวิชาการระดับชาติด้านอีเลิร์นนิง, 14-15 สิงหาคม 2555 อาคารอิมแพค ฟอรั่ม เมืองทองธานี. กรุงเทพ: โครงการมหาวิทยาลัยไซเบอร์ไทย สำนักคณะกรรมการอุมศึกษา.

เบ็ญญาภา ศรีเรืองพันธ์. (2551). การพัฒนาตัวประสานงานผู้ใช้สำหรับระบบการจัดการเนื้อหาการเรียนรู้. วิทยานิพนธ์ครุศาสตร์อุตสาหกรรมมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ.

บุญอนันต์ ปอศรี. (2556). การจัดสรรทรัพยากรบนระบบประมวลผลแบบกลุ่มเมฆโดยใช้วิธีขยายขนาดเซิร์ฟเวอร์เสมือน. วารสารวิชาการพระจอมเกล้าพระนครเหนือ, 23(1), 180-187.

ปณิตา วรรณพิรุณ. (2556). การพัฒนาระบบสนับสนุนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ผ่านเครือข่ายสังคมและคลาวด์เลิร์นนิงเพื่อส่งเสริมสมรรถนะการวิจัยและทักษะการใช้สารสนเทศอย่างมีวิจารณญาณ. การประชุมวิชาการระดับชาติด้านอีเลิร์นนิง, 5-7 สิงหาคม 2556 อาคารอิมแพค ฟอรั่ม เมืองทองธานี. กรุงเทพ: โครงการมหาวิทยาลัยไซเบอร์ไทย สำนักคณะกรรมการอุมศึกษา.

พรเพ็ญ เอกเอี่ยมวัฒนกุล. (2554). การพัฒนาและหาประสิทธิภาพของเว็บช่วยสอนที่เน้นกระบวนการเรียนรู้ของโรเบิร์ต กาเย่ วิชา การประยุกต์คอมพิวเตอร์กับงานสถิติบนระบบ Mobile LMS. ปัญหาพิเศษวิทยาศาสตร-มหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ.

วิวัฒน์ มีสุวรรณ. (2557). ระบบประมวลผลแบบกลุ่มเมฆในงานทางการศึกษา. วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร, 16(1), 149-157.

สรกนก จันทร์ดาประดิษฐ์. (2553). การพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการเรียนการสอน (LMS กรณีศึกษา นักศึกษาระดับปริญญาโท คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ).ปัญหาพิเศษวิทยาศาสตร์มหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ.

สุเนตร สืบค้า. (2552). ความพึงพอใจของนักศึกษาต่อการเรียนการสอนผ่านเว็บด้วย โปรแกรมมูเดิล (Moodle e-Learning). วิศวกรรมศาสตร์มหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยแม่โจ้.

อรรคเดช โสสองชั้น. (2554). การพัฒนาโมดูลนำเสนอภาพนิ่งสำหรับมูเดิล. วิทยาการสารสนเทศมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี.

Danielson, K. (2008). Cloud Computing. Retrieved August 22, 2010, from http://th.wikipedia.org

Translated Thai References

Akeearmwattanakun, P. (2011). The development and performance of the Web to teach the learning processes of Robert Yue Department of Statistics with Computer Applications on Mobile LMS. Master of Science Information Technology, King Mongkut’s University of Technology North Bangkok. [in Thai]

Huangtong, K. (2013). The development of information systems for knowledge sharing through Cloud computing. National e-Learning Conference 2013, 5-7 August 2012 Impact Muang Thong Thani forum. Bangkok: Thailand Cyber University. [in Thai]

Jundapadit, S. (2010). The development of information systems for teaching and learning (LMS case studies graduate student. Information Technology King Mongkut’s University of Technology North Bangkok). Special problems Master of Science Information Technology, King Mongkut’s University of Technology North Bangkok. [in Thai]

Kritwattapanit, G. (2006). The content management system for libraries and information services online. Master of Science Thesis Information Technology, King Mongkut’s University of Technology North Bangkok. [in Thai]

Meesuwan, V. (2014). The cloud processing system in education. Journal of Education Naresuan University, 16(1), 149-157. [in Thai]

Phonak, D. (2012). The learning activities integrated with knowledge management based on cloud technology to promote critical thinking skills in computer programming.National e-Learning Conference 2012, 14-15 August 2012 Impact Muang Thong Thani forum. Bangkok: Thailand Cyber University. [in Thai]

Porsri, B. (2013). Cloud Computing Resources Provisioning Using Virtual Server Size Expansion Method. The Journal of MKUTNB, 23(1), 180-187. [in Thai]

Sosongchan, A. (2011). The developed a module for Moodle slide presentation. Master of Computer Science, Naresuan University. [in Thai]

Srileangpun, B. (2008). The development coordinator for a system to manage learning content. Bachelor’s Degree Computer Technology, King Mongkut’s University of Technology North Bangkok. [in Thai]

Suebka, S. (2009). Satisfaction of students on the course via the web. Program Moodle (Moodle e-Learning). Master of Engineering, Maejo University. [in Thai]

Wanpirun, P. (2013). The system supports knowledge sharing through social networking and cloud-learning to enhance performance and research skills, critical information. National e-Learning Conference 2013, 5-7 August 2012 Impact Muang Thong Thani forum. Bangkok: Thailand Cyber University. [in Thai]