การพัฒนาแนวปฏิบัติตามมาตรฐานการอาชีวศึกษา เพื่อการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษาขนาดเล็ก

Main Article Content

พันทิพย์ รัตนราช

บทคัดย่อ

บทคัดย่อ
การวิจัยเรื่องนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาแนวปฏิบัติตามมาตรฐานการอาชีวศึกษาเพื่อการประกันคุณภาพ
ภายในสถานศึกษาขนาดเล็ก และเพื่อประเมินประสิทธิผลของแนวปฏิบัติฯ ภายหลังการนำไปใช้ในสถานศึกษาแล้วกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ บุคลากรวิทยาลัยการอาชีพอัมพวา จำนวน 24 คน และบุคลากร วิทยาลัยสารพัดช่างสมุทรสงคราม จำนวน 19 คน การดำเนินการวิจัยแบ่งเป็น 4 ระยะ คือ ระยะที่ 1: R1 การวิเคราะห์ สังเคราะห์เอกสารที่เกี่ยวข้อง ระยะที่ 2: D1 การสร้างร่างแนวปฏิบัติฯ ระยะที่ 3: R2 การนำแนวปฏิบัติฯ ไปทดลองใช้กับกลุ่มตัวอย่างระยะที่ 4 D2 การสร้างแนวปฏิบัติฯ ที่สมบูรณ์ ใช้แบบสอบถามและแบบสัมภาษณ์เชิงลึกเป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล และสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน t-test ผลการวิจัยจากแบบสอบถาม พบว่า ในภาพรวมมีค่าเฉลี่ยระดับมาก ด้านลดความเสี่ยงในการบรรลุเป้าหมายมีค่าเฉลี่ยมากที่สุด รองลงมา คือ ด้านการมีส่วนร่วม ด้านการบรรลุเป้าหมาย และด้านความพึงพอใจ ตามลำดับ เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ พบว่า ข้อที่มีค่าเฉลี่ยมากที่สุด คือ การนำแนวปฏิบัติไปใช้ในการประกันคุณภาพช่วยลด/ป้องกัน/ขจัด
ความเสี่ยงในการบรรลุเป้าหมายด้านการบริหารจัดการ รองลงมา คือ การนำแนวปฏิบัติฯ ไปใช้ในการประกันคุณภาพจะช่วยลด/ป้องกัน/ขจัดความเสี่ยงในการบรรลุเป้าหมายด้านการบริการวิชาการและวิชาชีพ ได้ทดสอบสมมติฐานด้วยสถิติ t-test เพื่อหาความแตกต่างค่าเฉลี่ยของทั้งสองสถานศึกษา สรุปว่า ด้านความพึงพอใจของสถานศึกษาทั้งสองแห่งไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ 0.05 และผลจากการสัมภาษณ์มีข้อสรุปที่สอดคล้องกัน คือ แนวปฏิบัติช่วยให้บรรลุเป้าหมายในการประกันคุณภาพภายในมากกว่าร้อยละ 80

Abstract
The purposes of this research were to study developing a framework according to the vocational education standards for self quality assurance of small colleges; and evaluate the framework efficiency after implementing it in colleges. The samples of this study consisted of 24 personnel of Ampawa Industrial and Community Education College and consisted of 19 personnel of Samutsongkram Polytechnic College. The study was divided into 4 phases as follows. Phase 1(R1) was the analysis and synthesis of the related literature. Phase 2(D1) was the draft of the framework.
Phase 3(R2) was the framework implementation in the two colleges. And Phase 4(D2) was the creation of the complete framework. The research instruments used for data collection wear the questionnaires and in-depth interview. The statistical procedures employed included frequency, percentage, mean, standard deviation and t-test. The research findings revealed that the framework was of high quality. In terms of issues to consider, the results showed that the respondents strongly agreed with lessening risks to achieve the goals, participation, goal achievement, and satisfaction respectively. However, when checking each issue, most respondents accepted that the implementation of the framework for quality assurance could lessen/ prevent/ get rid of the risks to achieve the goals of administration and the risks to achieve the goals of academic and vocational services.
Moreover, the mean difference of the two colleges assessed by t-test indicated that their average satisfaction was not significantly different at 0.05. In addition, the interviews yielded similar results that the framework enabled the colleges to achieve more than 80% of the goals of self quality assurance.

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

คณะกรรมาธิการการศึกษา สภาผู้แทนราษฎร. (2556). สรุปการประชุมคณะกรรมาธิการการศึกษา สภาผู้แทนราษฎร ครั้งที่ 79 10 กรกฎาคม 2556, จาก http://www.parliament.go.th/ewtcommittee/ewt/education/more_news.php?cid=9&filename=index

ช่วงโชติ พันธุเวช. (2550). แม่แบบการจัดการศึกษาเชิงคุณภาพ. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา.ณัฐปคัลภ์ ญาณมโนวิศิษฎ์. (2555). การบริหารการศึกษา. กรุงเทพฯ: บริษัท สยามมาพร จำกัด.

ติน ปรัชญพฤกษ์. (2550). การบริหารการพัฒนา ความหมาย เนื้อหา แนวทาง และปรัชญา. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ทองอินทร์ วงศ์โสธร. (2553). ทฤษฎีระบบ. ประมวลสาระชุดวิชาทฤษฎีและแนวปฏิบัติในการบริหารการศึกษา หน่วยที่ 2. 2-22.

นลินี ทวีสิน. (2555). การประกันคุณภาพการศึกษาไทยใต้ร่มพระบารมี. การประชุมวิชาการระดับชาติ พ.ศ. 2555 การประกันคุณภาพการศึกษาไทยใต้ร่มพระบารมี, วันที่ 10-11 พฤษภาคม 2555 ณ ศูนย์แสดงนิทรรศการและการประชุมไบเทค กรุงเทพมหานคร. กรุงเทพมหานคร: สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน).

นวรัตน์ รามสูต และบัลลังก์ โรหิตเสถียร. (2556). ข่าวสำนักงานรัฐมนตรี เรื่องรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการพบผู้บริหารสถานศึกษาอาชีวศึกษาทั่วประเทศ. สืบค้นเมื่อ 5 พฤษภาคม 2556, จาก http://www.moe.go.th/websm/2013/apr/114.html

บุญใจ ศรีสถิตนรากูร. (2555).การพัฒนาและตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือวิจัย คุณสมบัติการวัดเชิงจิตวิทยา. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

วรเดช จันทรศร และไพโรจน์ ภัทรนรากุล. (2554). การประเมินผลในระบบเปิด. (พิมพ์ครั้งที่ 10). กรุงเทพฯ: ห้างหุ้นส่วนจำกัดสหบล้อกและการพิมพ์.

ศิริชัย กาญจนวาสี. (2550). ทฤษฎีการประเมิน. พิมพ์ครั้งที่ 6. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและกำลังคนอาชีวศึกษา. (2557). รายงานข้อมูลสถิติสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา.สืบค้นเมื่อ 31 ตุลาคม 2557, จาก http://techno.vec.go.th/

สมบัติ ธำรงธัญวงศ์. (2557). ปัญหาโรงเรียนขนาดเล็กที่ต้องเร่งรัดแก้ไข. สืบค้นเมื่อ 1 กรกฎาคม 2557, จาก http://www.facebook.com/Prof.SombatThamrongthanyawong/

สมหวัง พิธิยานุวัฒน์. (2551). วิธีวิทยาการประเมิน ศาสตร์แห่งคุณค่า. (พิมพ์ครั้งที่ 4). กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

สำนักติดตามและประเมินผลการอาชีวศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา. (2557). หนังสือด่วนที่สุด ที่ศธ 0603/020,วันที่ 12 มีนาคม 2557. สืบค้นเมื่อ 19 พฤษภาคม 2557, จากงานสารบรรณ วิทยาลัยเทคนิคราชสิทธาราม.

สำนักติดตามและประเมินผลการอาชีวศึกษา. (2556). โครงการสร้างเสริมคุณภาพสถานศึกษาขนาดเล็กให้ได้มาตรฐานอาชีวศึกษา. (เอกสารอัดสำเนา). สืบค้นเมื่อ 12 ธันวาคม 2556, จากงานสารบรรณ วิทยาลัยเทคนิคราชสิทธาราม.

สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน). (2555). คู่มือผู้ประเมินเพื่อการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม ด้านการอาชีวศึกษา. กรุงเทพฯ: สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน).

สำนักมาตรฐานการอาชีวศึกษาและวิชาชีพ (2555). มาตรฐานการอาชีวศึกษา พ.ศ. 2555 เพื่อการประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา. กรุงเทพฯ: สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา.

อาคม เติมพิทยาไพสิฐ. (2556). สื่อยุทธศาสตร์หลักของการก้าวไปสู่การเป็นประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน. วันที่ 31 พฤษภาคม 2556 ณ โรงแรมรอยัล ปริ๊นเซส หลานหลวง กรุงเทพฯ, จาก http://www.nesdb.go.th/Default.aspx?tabid=427

Chuangi, E. H. (2004). Proceeding of International Conference on Geoinformatics and Modeling Geographical Systems & Fifth International Workshop on GIS’ Beijing. China.

Commonwealth of Australia. (2009). Comparisons of International Quality Assurance Systems.Australia Government. Department of Education, Employment and Workplace Relation.

Sapru, R. K. (2008). Development Administration. India: Sterling Publishers Privak Limited.

Shahid, A. (2004). Systems Theory and Management Control. Retrieved October, 2013, from http://faculty.darden.virginia.edu/ansaris/System%20Theory%20and%20MCS.TN

Translated Thai References

Bureau of Monitoring and Evaluation of Vocational Education. Office of the Vocational Education Commission. (2014). Urgent No.ED 0603/020. March 12, 2014. Retrieved May 19, 2014, from Documents Section at Rajasitaram Technical College. [in Thai]

Bureau of Monitoring and Evaluation of Vocational Education. (2014). Project of Improvement Quality small Educational Institution for Vocational Standard. (Mimeographed). Retrieved December 12, 2013, from Documents Section at Rajasitaram Technical College. [in Thai]

Bureau of Vocational Education Standards and Qualification. (2013). Vocational Standard 2013 for Internal Quality Assessment.Bangkok: Office of the Vocational Education Commission. [in Thai]

Committee of Education, House of representatives. (2013). Report summarize from committee of education 79th, July 10, 2013, from http://www.parliament.go.th/ewtcommittee/ewt/education/more_news.php?cid=9&filename=index [in Thai]

Information Technology and Vocational Manpower Center. (2014). Statistical Information Reports for Office of the Vocational Education Commission. Retrieved October 31, 2014, from http://techno.vec.go.th/ [in Thai]

Jantarasorn, V. & Phattranaragul, P. (2011). Open Evaluation System. (10th ed.). Bangkok: Sahablock Karnpim Press. [in Thai]

Karnjamavasri, S. (2007). Theorical Evaluation. (6th ed.). Bangkok: Chulalongkorn University Press. [in Thai]

Pratchayapruk, T. (2007). Development Administration, Meaning, Substance, Guidelines and Philosophy. Bangkok: Chulalongkorn University Press. [in Thai]

Phantuwayt, C. (2007). Quality Education Model. Bangkok: Suan Sunandha Rajabhat University. [in Thai]

Phitiyanuwat, S. (2008). How to Evaluation, Valuable Science. (4th ed.). Bangkok: Chulalongkorn University Press. [in Thai]

Rammasud, N. & Rohitasatean, B. (2012). Education Minister meted Vocational all Administrator. Office of the Minister News. Retrieved May 5, 2013, from http://www.moe.go.th/websm/2013/apr/114.html [in Thai]

Srisatitnaragul, B. (2012). Development and checking research tools, Measurement Property of Psychology. Bangkok: Chulalongkorn University Press. [in Thai]

Thamrongthanyawong, S. (2014). Small School Repairable Problem. Retrieved July 1, 2014, from http://www.facebook.com/Prof.Sombat Thamrongthanyawong/ [in Thai]

Thaveesin, N. (2012). Educational Quality Assurance under the King. International Academic Conference proceeding report 2012. The Office for National Education Standards and Quality Assessment, May 10-11, 2012. Bangkok International Trade & Exhibition Centre: BITEC. Bangkok: The Office for National Education Standards and Quality Assessment (Public Organization). [in Thai]

The Office for National Education Standards and Quality Assessment (Public Organization). (2013). The Manual of Assessor for Vocational Education three External Assessment. Bangkok: The Office for National Education Standards and Quality Assessment (Public Organization). [in Thai]

Wongsotorn, T. (2010). Theorical System. Theory and Practice in Educational Administration. Unit 2, Nonthaburi: Sukhathai Tammathirat Open University. 2-22. [in Thai]

Yanmanovisit, N. (2012). Education Administration. Bangkok: Siamaporn Co., Ltd. [in Thai]

Termphitayaphisit, A. (2013). Communicate and main Strategy for AEC, May 31, 2013, Royal Princess Larn Lung Bangkok Hotel, from http://www.nesdb.go.th/Default.aspx?tabid=427 [in Thai]