ผลของการใช้ชุดฝึกอบรมการบริหารจิตตามแนวพุทธเพื่อเสริมสร้าง จิตลักษณะทางพุทธ และลักษณะทางพุทธ ของนักศึกษาระดับ อุดมศึกษา

Main Article Content

กิตดา ปรัตถจริยา
อุบล เลี้ยววาริณ

บทคัดย่อ

บทคัดย่อ
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของการใช้ชุดฝึกอบรมการบริหารจิตตามแนวพุทธที่มีต่อจิตลักษณะ
ทางพุทธและลักษณะทางพุทธของนักศึกษาระดับอุดมศึกษาแบบแผนการวิจัยเชิงทดลอง คือ Pretest - Posttest Control Group Design กลุ่มตัวอย่าง คือ นักศึกษาชั้นปีที่ 1 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา จำนวน 199 คน สุ่มเข้ากลุ่มทดลอง 98 คน กลุ่มควบคุม 101 คน ด้วยการสุ่มแบบแบ่งชั้น สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบคะแนนค่าเฉลี่ยโดยใช้ t-test เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย ชุดฝึกอบรมการบริหารจิตตามแนวพุทธแบบสอบถามจำนวน 6 ฉบับ ที่หาค่าความเที่ยงแบบครอนบาค ได้ค่าสัมประสิทธิ์แอลฟา เท่ากับ 0.70-0.88 ผลการทดลองใช้ชุดฝึกอบรม พบว่า ภายหลังการฝึกอบรมการบริหารจิตตามแนวพุทธนักศึกษากลุ่มทดลองที่ได้รับการฝึก มีจิตลักษณะทางพุทธ ได้แก่ ความศรัทธาในพุทธศาสนาและความเชื่อเรื่องกรรม ลักษณะทางพุทธ ได้แก่ การปฏิบัติตนตามหลักบุญสิกขา การใช้ชีวิตในวิถีชีวิตแบบพุทธ ความกตัญญูรู้คุณต่อบุคคล และความกตัญญูรู้คุณต่อแผ่นดิน สูงกว่านักศึกษากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ 0.05

Abstract
The purpose of this research was to study the result of the implementation of the Buddhist mind training module towards the psychological and Buddhist characteristics, the religious characteristics of the undergraduate students. The samples of the study were consisted of 199 first year students of Suan Sunandha Rajabhat University whom were randomly divided into 2 groups: 98 students of an experimental group and 101 students of a control group by the stratified random sampling. The research design was Pretest-Posttest Control Group Design. The statistical analysis were Percentage, Mean, StandardDeviation, t-test.The research instruments were composed of the Buddhist mind training module, and 6 series of questionnaires were examined the reliability of the test by Cronbach’s Coefficient Alpha at 0.70-0.88 After the termination of the training module implementation, it was found out that the experimental group had increased the higher scores level on psychological and Buddhist characteristics in 2 aspects namely: the general Buddhist belief and Buddhist belief in Krama; Religious characteristics in 4 aspects namely: Buddhist practices, Buddhist lifestyles, gratefulness to person and motherlandmore than the untrained students at the statistical significance of 0.05

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

กาญจนา จนาพิระกนิฎร์. (2550). ผลของการใช้ชุดกิจกรรมแนะแนวตามหลักไตรสิกขาเพื่อพัฒนาความกตัญญูกตเวทีของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนสามัคคีวิทยาคม 2 จังหวัดเชียงราย. วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตร- มหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.

พุทธทาสภิกขุ. (2536). กตัญญูกตเวทีเป็นร่มโพธิ์ร่มไทรของโลก. กรุงเทพฯ: ธรรมสภา.

พระครูศรีสุตโสภณ (เงิน ชาตเมธี). (2549). ความกตัญญูกตเวทีในฐานะคุณธรรมค้ำจุนสังคมจากมุมมองพระพุทธศาสนา. วิทยานิพนธ์พุทธศาสตร์มหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลัย.

พระไตรปิฎก (มงฺคล). (2535). ข้อ 363. ใน มงฺคลตฺถทีปนี (เล่มที่ 2, หน้า 276). กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์มหามกุฏ- ราชวิทยาลัย.

พระธรรมปิฎก (ป.อ. ปยุตฺโต). (2542). พุทธธรรม ฉบับปรับปรุงและขยายความ. (พิมพ์ครั้งที่ 8). กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

พระธรรมปิฎก (ป.อ. ปยุตฺโต) (2540). พุทธวิธีในการสอน. กรุงเทพฯ: บริษัท สหธรรมิก จำกัด.

พระธรรมปิฎก, (ป.อ.ปยุตฺโต). (2543).พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลธรรม. (พิมพ์ครั้งที่ 9). กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

พระราชธรรมนิเทศ. (2531). พระธรรมนำชีวิต. กรุงเทพฯ: ศูนย์ส่งเสริมพระพุทธศาสนาแห่งประเทศไทย วัดบวรนิเวศ.

ราชบัณฑิตยสถาน. (2546). พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542. กรุงเทพฯ: นานมีบุ๊ค.

รมณีย์ อาภาภิรม และคนอื่นๆ. (2546). ผลของการพัฒนาจิตที่มีต่อประสิทธิภาพในการทำงาน. รายงานการวิจัย. คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง.

สุภาภรณ์ พงศธรบริรักษ์. (2553). ผลการพัฒนาสติของเยาวชนในศูนย์ฝึกและอบรมเด็กและเยาวชนเขต 7 เชียงใหม่ ด้วยกระบวนการปฏิบัติสมาธิภาวนา. ปริญญานิพนธ์พุทธศาสตร์มหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณ-ราชวิทยาลัย.

Andres, M. M. (2012). Brief mindfulness training to improve mental health with Colombian healthcare professionals. California Institute of Integral Studies, ProQuest, UMI Dissertations Publishing 3545006.

Creswell, J. W. (2003). Research Design Qualitative, Quantitative and Mixed Methods Approaches. (2th ed.). Thousand Oaks, CA: Sage.

Jain, S.,Shapiro, S. L., Roesch, S. C., Mills, P. J. et al. (2007). A Randomized Controlled Trial of Mindfulness Meditation Versus Relaxation Training: Effects on Distress, Positive States of Mind, Rumination, and Distraction. Annals of Behavioral Medicine, 33(1), 11-21.

McCullough, M. E., Tsang, J. & Emmons, R. A. (2004). Gratitude in intermediate affective terrain links of grateful moods to individual differences and daily emotional experience.Journal of Personality and Social Psychology, 86(2), 295-309.

Streiffer, M. J. (2011). A Longitudinal Investigation Empathic Behavior and Neural Activity and Their Modulation by Compassion Meditation. Emory University, ProQuest, UMI Dissertations Publishing.

Translated Thai References

Arpapirom, R. et al. (2003). The Results of Mental Development Affected to Working Efficiency. Research Report. Faculty of Industrial Education, King Mongkut’s Institute of Technology Ladkrabang. [in Thai]

Buddhathaspikhu. (1993). Gratitude is the Protector of the World. Bangkok: Dhamma Council.

Buddhist Scriptures (Mongkol). (1992). Article 363 in Mongkoltatatipani. (Vol. 2 p. 276). Bangkok: Maharajawithayalai Printing. [in Thai]

Janaphirakanid, K. (2007). The Result of the Implementation of the Guidance Module in line with Threefold Method of training in Morality for Developing the Students’ Gratitude in Lower Secondary Level of Samaukkiwithayakom 2 Chiengrai Province. Master Degree Thesis in Education, Guidance, Sukhothaidhamathidrach Open University. [in Thai]

Phradhamapidok. (P.O. Payutto). (1997). Buddhist Means in Teaching.Bangkok: Sahathamic Co.,Ltd. [in Thai]

Phradhamapidok. (P.O. Payutto). (1999). Buddhist Moral Code (Revised version 8th printing) Bangkok: Chulalongkornrajawitayalai Publisher. [in Thai]

Phradhamapidok. (P.O. Payutto). (2000).Dictionary of Buddhism pra-muan-dhaama.pd.(Revised version 9th printing). Bangkok: Chulalongkornrajawitayalai Publisher. [in Thai]

PhrakhruSrisutasopon (Ngeng Chatamethi). (2006). The Gratitude in the Condition of Morality Uphold Society in the Buddhism Perspective. Master Degree Thesis in Buddhism, Chulalongkornrachawithayalai. [in Thai]

Phrarachadhammanithad. (1998).Buddhist Doctrine Leads Life. Bangkok: Thailand Buddhist Promotion Centre, Watbowornniwes. [in Thai]

Pongthornborirak, S. (2010). The Results of Mind Development of Youth through Meditation Process in the Child and Youth Training Centre Zone 7, Chiengmai. Master Degree Thesis in Buddhism. Bangkok: Chulalongkornrachawithayalai. [in Thai]

Royal Institute of Thailand. (2003). Dictionary Royal Institute of Thailand Version 1999. Bangkok: Nanmee Book. [in Thai]