การนำเสนอรายการโทรทัศน์ในยุคดิจิทัล
Main Article Content
บทคัดย่อ
บทคัดย่อ
บทความฉบับนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเสนอแนะแนวทางการผลิตรายการโทรทัศน์ในปัจจุบัน ให้มีประสิทธิภาพ
เกิดความน่าสนใจ สอดคล้องตรงกับพฤติกรรมการรับชมของผู้ชมในปัจจุบัน และสามารถแย่งชิงฐานจำนวนผู้ชมให้ติดตามรายการของตนได้เป็นจำนวนมาก ซึ่งผู้ผลิตรายการโทรทัศน์สามารถนำข้อเสนอแนะมาปรับใช้เพื่อเป็นแนวทางในการผลิตรายการให้เกิดประสิทธิภาพได้ต่อไป อีกทั้งผู้ชมก็จะมีโอกาสในการเลือกรับชมรายการที่มีคุณภาพ และเหมาะสมกับรูปแบบการดำเนินชีวิตของแต่ละคนปัจจุบันการแข่งขันทางด้านการผลิตรายการโทรทัศน์นั้นสูงขึ้นกว่าในอดีต เนื่องจากพัฒนาการของระบบดิจิทัลและเทคโนโลยี การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมการรับชมของผู้ชม และจำนวนคู่แข่งขันทางธุรกิจที่มากขึ้นดังผลสำรวจของเว็บไซต์ Vouchercodespro.co.uk (2012) พบว่า กลุ่มผู้ใช้งานอินเทอร์เน็ตมีสัดส่วนการใช้งานสื่อสังคมออนไลน์และดิจิทัลวิดีโอเพิ่มสูงขึ้นเป็น 3.07 ชั่วโมงต่อคนต่อวัน การใช้งานสื่อสังคมออนไลน์ วิดีโอออนไลน์ รวมไปถึงหนังสือพิมพ์ออนไลน์และวิทยุออนไลน์ พบว่า เป็นกิจกรรมที่ได้รับความนิยมและเริ่มมีสัดส่วนการใช้งานเฉลี่ยเพิ่มสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง ในระหว่างปี 2010-2013 ในขณะที่สัดส่วนของสื่อประเภทอื่นในรูปแบบออฟไลน์ เช่น โทรทัศน์ วิทยุ หนังสือพิมพ์ และนิตยสาร กลับได้รับความนิยมลดลง ดังนั้น ผู้ผลิตรายการต่างต้องสร้างสรรค์กระบวนการผลิตที่มีประสิทธิภาพ และมีความแตกต่างจากคู่แข่งขันรายอื่น เพื่อเพิ่มฐานผู้ชม โดยอยู่บนพื้นฐานของแนวคิดเรื่องกระบวนการสื่อสาร ทั้ง 5 องค์ประกอบ ได้แก่ ผู้ส่งสาร สาร ช่องทางการสื่อสาร ผู้รับสาร และปฏิกิริยาตอบกลับ ซึ่งองค์ประกอบดังกล่าวสามารถนำมากำหนดเป็นแนวทางในการผลิตรายการโทรทัศน์ที่มีประสิทธิภาพได้ด้วยการรับฟังความคิดเห็นเพื่อสร้างแนวคิดและมุมมองใหม่ การเล่าเรื่องข้ามสื่อ การนำเสนอรายการควรผ่านช่องทางหรือสื่อที่หลากหลาย การวิเคราะห์พฤติกรรมผู้ชม และการให้ความสำคัญกับปฏิกิริยาตอบกลับของผู้ชม
Abstract
This paper aims to present the guidelines of today’s television production in order to be efficient, attractive, and appropriate to the viewing behavior of audience and be competitive to take the large number of the audience of their programs. The television producers can apply the suggestion for the effective guidelines of television production in the future. Moreover, the audience will have an opportunity to choose the quality programs and appropriate to their lifestyle of today's society.
The present TV production has been more competitive than the past because of several factors such as the development of digital system and technology, the change of the viewing behavior of the audience and the increasing of the business competition. As the survey result of website: Vouchercodespro.co.uk (2012) has found that the internet users had the increasing proportion of online social media using and digital video up to 3.07 hours per person per day. During 2010-2013, it found that the us of online social media, online videos, including online newspapers and online radio was found to be popular activities and had the average usage proportion increasing steadily. Contrastingly, the proportion of other offline media forms such as television, radio, newspapers and magazines were decreasing in popularity. Therefore, the producers must create the efficient production processes and the competitive differentiation for increasing the number of the audiences by focusing on the 5 key factors: the sender, the content, the communication channel, the receiver and the feedback. These key factors can be the guidelines of the efficient television production with the feedback to create new ideas and perspectives, transmedia storytelling, one content Multiscreen-Multiplatform, the analysis of audience behavior and the important of audience reactions.
Article Details
“ข้าพเจ้าและผู้เขียนร่วม (ถ้ามี) ขอรับรองว่า บทความที่เสนอมานี้ยังไม่เคยได้รับการตีพิมพ์และไม่ได้อยู่ระหว่างกระบวนการพิจารณาลงตีพิมพ์ในวารสารหรือแหล่งเผยแพร่อื่นใด ข้าพเจ้าและผู้เขียนร่วมยอมรับหลักเกณฑ์การพิจารณาต้นฉบับ ทั้งยินยอมให้กองบรรณาธิการมีสิทธิ์พิจารณาและตรวจแก้ต้นฉบับได้ตามที่เห็นสมควร พร้อมนี้ขอมอบลิขสิทธิ์บทความที่ได้รับการตีพิมพ์ให้แก่สถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์หากมีการฟ้องร้องเรื่องการละเมิดลิขสิทธิ์เกี่ยวกับภาพ กราฟ ข้อความส่วนใดส่วนหนึ่งและ/หรือข้อคิดเห็นที่ปรากฏในบทความข้าพเจ้าและผู้เขียนร่วมยินยอมรับผิดชอบแต่เพียงฝ่ายเดียว”
References
จาตุรนต์ อำไพ. (2556). อนาคตทีวีทางเลือกไทยในยุคเปลี่ยนผ่านสู่ดิจิตอลทีวี. สืบค้นเมื่อ 17 มิถุนายน 2557, จาก http://www.scbeic.com/THA/document/note_ 20131121_digital_tv/
ทรงศักดิ์ เปรมสุข. (2557). ผู้บริโภคยุคดิจิตอลชอบเนื้อหาผสมผสานข้ามสื่อ. สืบค้นเมื่อ 8 มีนาคม 2557, จาก http://www.dailynews.co.th/Content/IT/221608/%E0%B8%9C%E0%B8%B9%E0%B9%89%E0%B8%9A%E0%B8%A3%E0%B8%B4%E0%B9%82%E0%B8%A0%E0%B8%84%E0%B8%A2%E0%B8%B8%E0%B8%84%E0%B8%94%E0%B8%B4%E0%B8%88%E0%B8%B4%E0%B8%95%E0%B8%AD%E0%B8%A5%E0%B8%8A%E0%B8%AD%E0%B8%9A%E0%B9%80%E0%B8%99%E0%B8%B7%E0%B9%89%E0%B8%AD%E0%B8%AB%E0%B8%B2%E0%B8%9C%E0%B8%AA%E0%B8%A1%E0%B8%9C%E0%B8%AA%E0%B8%B2%E0%B8%99%E0%B8%82%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B8%A1%E0%B8%AA%E0%B8%B7%E0%B9%88%E0%B8%AD
ทวีศักดิ์ แสงทอง. (2557). แนะระบบวิเคราะห์ข้อมูล เสริมแกร่งธุรกิจดิจิตอล. สืบค้นเมื่อ 17 มิถุนายน 2557, จาก http://www. thairath.co.th/content/425735
ธาม เชื้อสถาปนศิริ. (2557ก). เล่าเรื่องข้ามสื่อ (Transmedia Storytelling). สืบค้นเมื่อ 17 มิถุนายน 2557, จาก https://docs.google.com/a/stamford.edu/file/d/0B-p6c4-SjqXlUVBhOS1oT3ZGTHc/edit
ธาม เชื้อสถาปนศิริ. (2557ข). การผลิตรายการโทรทัศน์ในยุคภูมิทัศน์สื่อใหม่. สืบค้นเมื่อ 16 มิถุนายน 2557, จาก https://www.facebook.com/photo.phpfbid=10152246878123732&set=a.483861243731.261519.720008731&type=1&theater
ธาม เชื้อสถาปนศิริ. (2557ค). สื่อโทรทัศน์ในยุคดิจิทัลเรื่อง 7Cs ความท้าทายคนโทรทัศน์ในยุคดิจิทัล!. (พิมพ์ครั้งที่ 1). กรุงเทพฯ: ห้างหุ้นส่วนจำกัด ภาพพิมพ์.
นิเวศน์ เหมวชิรวรากร. (2555). ต้นแบบของนักลงทุนแบบเน้นคุณค่าของไทย. สืบค้นเมื่อ 18 มิถุนายน 2557, จาก http://vithai-master.blogspot.com/2012/08/halo-effect.html
ปัทมวรรณ สถาพร. (2557). มายด์แชร์ประกาศการเข้าสู่อีกระดับของการตลาดดิจิตอล ด้วยการเปิดตัว YouTube แห่งประเทศไทย. สืบค้นเมื่อ 7 ตุลาคม 2557, จาก http://www.mindshareworld. com/thailand/news/mindshare-thailand-take-digital-marketing-new-heights-launch-youtube-thailand
ประพิม คล้ายสุบรรณ์. (2542). ระบบอุปถัมภ์กับวิชาชีพนิยมของผู้ผลิตรายการสารคดีสิ่งแวดล้อมทางโทรทัศน์. วิทยานิพนธ์นิเทศศาสตรมหาบัณฑิต, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
พงษ์ วิเศษสังข์. (2552). ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการสื่อสาร. (พิมพ์ครั้งที่ 9). ปทุมธานี: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยกรุงเทพ.
รัตติยา อังกุลานนท์. (2557). เนชั่นทีวีชูกลยุทธ์ ‘5 จอ’ ปั้นเรตติ้งผู้นำทีวีดิจิตอล. สืบค้นเมื่อ 16 มิถุนายน 2557, จาก http://www. komchadluek.net /mobile/detail/20140127/177651.html
เว็บไซต์กระปุกดอทคอม. (2555). 20 อันดับหนังไทยทำเงินประจำปี 2555. สืบค้นเมื่อ 17 มิถุนายน 2557,จาก http://movie.kapook.com/view53141.html
วนิดา ฉัตรสกุลไพรัช. (2557). ผลการชมละครโทรทัศน์เกาหลีกับการซึมซับค่านิยมและการเลียนแบบวัฒนธรรมเกาหลี. วารสารปัญญาภิวัฒน์, 6(1), 175-185.
วรากรณ์ สามโกเศศ. (2556). รู้จัก Halo Effect. สืบค้นเมื่อ 18 มิถุนายน 2557, จาก http://www.bangkokbiznews.com/home/detail/politics/opinion/varakorn_s/20131105/540745/%E0%B8%A3%E0%B8% B9%E0%B9%89%E0%B8%88%E0%B8%B1%E0%B8%81-HaloEffect.html
วิสูตร พูลวรลักษณ์. (2555). ATM เออรัก...เออเร่อ สุดเจ๋ง!!ขึ้นแท่นหนังรักทำเงินสูงสุด. สืบค้นเมื่อ 17 มิถุนายน 2557, จาก http://www.dek-d.com/lifestyle/27659/
ศศิวิมล กุมารบุญ. (2542). อิทธิพลของผู้อุปถัมภ์รายการที่มีผลต่อรายการสารคดีการเกษตรทางโทรทัศน์. วิทยานิพนธ์นิเทศศาสตรมหาบัณฑิต, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
แสงวิทย์ เกวลีวงศ์ศธร. (2555). “วีดิโอคอนเทนท์” จุดเปลี่ยนโฆษณาโทรทัศน์. สืบค้นเมื่อ 19 มิถุนายน 2557, จาก http://www.bangkokbiznews.com/home/detail/it/global/20120605/455059/%E0%B8%A7%E0%B8%B5%E0%B8%94%E0%B8%B4%E0%B9%82%E0%B8%AD%E0%B8%84%E0%B8%AD%E0%B8%99%E0%B9%80%E0%B8%97%E0%B8%99%E0%B8%97%E0%B9%8C%E0%B8%88%E0%B8%B8%E0%B8%94%E0%B9%80%E0%B8%9B%E0%B8%A5%E0%B8%B5%E0%B9%88%E0%B8%A2%E0%B8%99%E0%B9%82%E0%B8%86%E0%B8%A9%E0%B8%93%E0%B8%B2%E0%B9%82%E0%B8%97%E0%B8%A3%E0%B8%97%E0%B8%B1%E0%B8%A8%E0%B8%99%E0%B9%8C.html
สุทิติ ขัตติยะ และภัสวลี นิติเกษตรสุนทร. (2552). เอกสารการสอนชุดวิชา การสร้างสรรค์รายการโทรทัศน์ หน่วยที่ 14 เรื่อง การพัฒนาการสร้างสรรค์รายการโทรทัศน์. (พิมพ์ครั้งที่ 3). นนทบุรี: สำนักพิมพ์สุโขทัยธรรมาธิราช.
สุทิติ ขัตติยะ. (2555). หลักการวิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์. (พิมพ์ครั้งที่ 1). นนทบุรี: บริษัท ประยูรวงศ์พริ้นท์ติ้ง จำกัด.
สุทธิชัย หยุ่น. (2557). เครือเนชั่น ย้ำวิชั่นลุยดิจิตอลมีเดีย ชูกลยุทธ์โฟกัส 5 หน้าจอ. สืบค้นเมื่อ 16 มิถุนายน 2557, จาก http://www.bangkokbiznews.com/home/news/press-center/detail.php?id=536216
สุวิทย์ สาสนพิจิตร์. (2557). ทีวีดิจิตอลทุบไพรม์ไทม์ไลฟ์สไตล์สู่มัลติสกรีน. สืบค้นเมื่อ 19 มิถุนายน 2557, จาก http://www.manager.co.th /iBizChannel/ViewNews.aspx?NewsID=9570000068533
Thumbsup. (2012). The statistics showed that in 2012 online media increased against the other media which declined obviously. Retrieved June 16, 2014, from http://thumbsup.in.th/2013/06/ impact-social-media-and-digital-video-web-usage/
Voucher Codes Pro. (2012). The impact of social media and digital video on web usage. Retrieved June 16, 2014, from http://www.vouchercodespro.co.uk/infographics/impact-on-web-usage
Translated Thai References
Aungalanon, R. (2014). Nation TV raised up the strategy ‘5 screens’ and promoted the rating of digital TV leader. Retrieved June 16, 2014, from http://www.komchadluek.net/mobile/detail/20140127 /177651.html [in Thai]
Chatsakulpairach, V. (2014). The effects of Korean T.V. dramas on Korean values assimilation and culture imitation of the thai youth. Panyapiwat Journal, 6(1), 175-185. [in Thai]
Chuastapanasiri, T. (2014A).Transmedia Storytelling. Retrieved June 17, 2014, from https://docs.google.com/a/stamford.edu/file/d/0B-p6c4-SjqXlUVBhOS1oT3ZGTHc/edit [in Thai]
Chuastapanasiri, T. (2014B).Television production in the era of new media landscape. Retrieved June 16, 2014, from https://www.facebook.com/photo.php?fbid=10152246878123732&set=a.483861243731.261519.720008731& type=1&theater [in Thai]
Chuastapanasiri, T. (2014C).Television in Digital Era. (1st ed.).Bangkok: Parbpim Ltd., Part. [in Thai]Kapook.com. (2015). Twenty list of highest-grossing films 20 lists. Retrieved June 17, 2014, from http://movie.kapook.com/view53141.html [in Thai]
Kewaleewongsatorn, S. (2012). “Video Content” The Turning Point of TV Advertisement. Retrieved June 19, 2014, from http://www.bangkokbiznews.com/home/detail/it/ global/20120605/455059/%E0%B 8%A7%E0%B8%B5%E0%B8%94%E0%B8%B4%E0%B9%82%E0%B8%AD%E0%B8%84%E0%B8%AD%E0%B8%99%E0%B9%80%E0%B8%97%E0%B8%99%E0%B8%97%E0%B9%8C%E0%B8%88%E0%B8%B8%E0%B8%94%E0%B9%80%E0%B8%9B%E0%B8%A5%E0%B8%B5%E0%B9%88%E0%B8%A2%E0%B8%99%E0%B9%82%E0%B8%86%E0%B8%A9%E0%B8%93%E0%B8%B2%E0%B9%82%E0%B8%97%E0%B8%A3%E0%B8%97%E0%B8%B1%E0%B8%A8%E0%B8%99%E0%B9%8C.html [in Thai]
Khattiya, S. & Nitikasetsuntorn, P. (2009). Creative for Television Program unit 14 chapter Television Program Development. (3th ed.). Nonthaburi: Sukhothai Thammathirat Press. [in Thai]
Khattiya, S. (2012). Principle of Broadcasting. (1st ed.). Nonthaburi: Prayoonwong-printingPress. [in Thai]
Klysubun, P. (1999). Sponsorship system and professionalism of television environmental documentary program producers. Thesis of Master of Communication Arts Program, Chulalongkorn University. [in Thai]
Kumarnbun, S. (1999). The Program Sponsor’s Influence in Television Agricultural Documentary Programs. Thesis of Master of Communication Arts Program, Chulalongkorn University. [in Thai]
Meochinwarakon, N. (2012). Principal of investors with Thai value highlight style. Retrieved June 18, 2014, from http://vithai-master.blogspot.com/2012/08/halo-effect.html [in Thai]
Poolvoralak, W. (2012). Movie “ATM Erruk Error”, the highest-grossing romantic movie. Retrieved June 17, 2014, from http://www.dek-d.com/lifestyle/27659/ [in Thai]
Premsuk, S. (2014). The media consumer in digital era is fond of cross media screen. Retrieved March 8, 2014, from http://www.dailynews.co.th/Content/IT/221608/%E0%B8%9C%E0%B8%B9%E0%B9%89%E0%B8%9A%E0%B8%A3%E0%B8%B4%E0%B9%82%E0%B8%A0%E0%B8%84%E0%B8%A2%E0%B8%B8%E0%B8%84%E0%B8%94%E0%B8%B4%E0%B8%88%E0%B8%B4%E0%B8%95%E0%B8%AD%E0%B8%A5%E0%B8%8A%E0%B8%AD%E0%B8%9A%E0%B9%80%E0%B8%99%E0%B8%B7%E0%B9%89%E0%B8%AD%E0%B8%AB%E0%B8%B2%E0%B8%9C%E0%B8%AA%E0%B8%A1%E0%B8%9C%E0%B8%AA%E0%B8%B2%E0%B8%99%E0%B8%82%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B8%A1%E0%B8%AA%E0%B8%B7%E0%B9%88%E0%B8%AD [in Thai]
Samakoses, V. (2013). Know Halo Effect. Retrieved June 18, 2014, from http://www.bangkokbiznews.com/home/detail/politics/opinion/varakorn_s/20131105/540745/%E0%B8%A3%E0%B8% B9%E0%B9%89%E0%B8%88%E0%B8%B1%E0%B8%81-HaloEffect.html [in Thai]
Sangtong, T. (2014). Suggestion for Data Analysis System to strengthens Digital Business. Retrieved June 18, 2014, from http://www.thairath.co.th/ content/425735 [in Thai]
Sasanapichit, S. (2014). Digital TV hit primetime lifestyle into multiscreen.Retrieved June 19, 2014, from http://www.manager.co.th/iBizChannel/ViewNews.aspx?NewsID=9570000068533 [in Thai]
Sataporn, P. (2014). Mindshare announced the next level of digital marketing with the launch of YouTube Thailand. Retrieved October 7, 2014, from http://www.mind shareworld.com/thailand/news/mindshare-thailand-take-digital-marketing-new-heights -launch-youtube-thailand [in Thai]
Umpai, J. (2013). Future of Thai alternative TV in the transiting era of digital TV. Retrieved June 17, 2014, from http://www.scbeic.com/THA/document/note_20131121_digital_tv/ [in Thai]
Wisessang, P. (2009). Introduction of Communication. (9th ed.). Pathumthani: Bangkok University Press. [in Thai]
Yoon, S. (2014). Nation group repeated visions through digital media and raised up the strategy of 5 screens. Retrieved June 16, 2014, from http://www.bangkokbiznews.com/home/news/press-center/detail.php?id=536216 [in Thai]