การสร้างอัตลักษณ์ของผู้เรียนในระดับอุดมศึกษา

Main Article Content

ฉัตรทิพย์ สุวรรณชิน
พนมพร จันทรปัญญา

บทคัดย่อ

บทคัดย่อ
การศึกษาในระดับอุดมศึกษาเป็นกระบวนการสำคัญในการสร้างอัตลักษณ์ของผู้เรียนให้มีคุณลักษณะ
อันพึงประสงค์สอดคล้องกับความต้องการของสถานประกอบการ และสามารถดำเนินชีวิตอยู่ร่วมกับผู้อื่นในสังคมได้อย่างมีความสุข อัตลักษณ์ของผู้เรียนถือเป็นอัตลักษณ์บุคคล (Individual Identity) ซึ่งเกี่ยวข้องกับมิติภายในที่บุคคลรู้จักและรับรู้เกี่ยวกับตนเอง และอัตลักษณ์ทางสังคม (Social Identity) ซึ่งเกี่ยวข้องกับการมีปฏิสัมพันธ์ทางสังคมของบุคคล ทั้งนี้แนวคิดเกี่ยวกับอัตลักษณ์ของผู้เรียนที่อธิบายไว้ในบทความนี้ ได้แก่ นโยบายการพัฒนาบัณฑิตอุดมคติไทย พ.ศ. 2554-2558 สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา และกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2552 และจากแนวคิดเกี่ยวกับอัตลักษณ์ของผู้เรียนดังกล่าว พบว่า มีการกำหนดคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรียนสอดคล้องใกล้เคียงกัน และได้นำมาสรุปจำแนกประเภทเป็น อัตลักษณ์ทางวิชาการ (Academic Identity) และอัตลักษณ์ทางวิชาชีพ (Professional Identity) สำหรับการสร้างอัตลักษณ์ของผู้เรียนนั้น
มีความสัมพันธ์อย่างใกล้ชิดกับกระบวนการเรียนรู้ และสภาพแวดล้อมการเรียนรู้ ซึ่งปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการบริหารการศึกษาทั้งด้านผู้เรียน ด้านผู้สอน ด้านวิธีการสอน ด้านหลักสูตร และด้านผู้บริหาร รวมทั้งปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการบริหารจัดการทั้งด้านสภาพแวดล้อม และด้านระบบประกันคุณภาพการศึกษาที่มีประสิทธิภาพจะเป็นปัจจัยสำคัญที่ช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้และส่งผลให้ผู้เรียนมีอัตลักษณ์ตามที่สถาบันกำหนดได้ประสบความสำเร็จ

Abstract
Studying in higher education is an important process to construct student Identity with desirable characteristic being relevant to enterprises’ needs and can live harmoniously with others in societies. Student identity is considered as individual identity dealing with internal dimension of a person who knows and recognizes themself and social identity involving in social interaction of individuals. Student identity concept explained in this article includes development policy of Thai ideal graduates B.E. 2011-2015 of Higher Education Commission Office and in National Qualifications
Framework for Higher Education B.E. 2009. Student identity concepts as mentioned have to define similar desirable characteristics of student and can be summarized and classified as academic identity and professional identity. Student identity construction associates closely with learning process and learning environment. Therefore, both of the education administration factors including the student aspect, the teacher aspect, the teaching methods aspect, the curriculum aspect, the administrator aspect and the management factors including the environmental aspect and the quality assurance systems in education will be the key factors allowing students to learn and lead them to have identities according to institutions’ rules successfully.

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

กระทรวงศึกษาธิการ. (2554). อัตลักษณ์ เอกลักษณ์กับการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม. สืบค้นเมื่อ 14 ธันวาคม 2557, จาก http://www.moe.go.th/moe/th/news/ detail.php?NewsID=24407&Key=hotnews

ขวัญฟ้า ศรีประพันธ์. (2551). ภาพตัวแทนคนจนในรายการเกมโชว์ทางโทรทัศน์.วิทยานิพนธ์ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (สื่อสารมวลชน), มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

คำศัพท์บัญญัติ.(2537). กรุงเทพฯ: ต้นธรรม.

ทักษะการเรียนรู้แห่งศตวรรษที่ 21. (2557). สืบค้นเมื่อ 23 มกราคม 2558, จาก http://www.vcharkarn.com/varticle/60454

ธงชัย สมบูรณ์. (2551). อัตลักษณ์ “เด็กราม”: รายงานวิจัย. กรุงเทพฯ: สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยรามคำแหง.

พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542. (2546). กรุงเทพฯ: ราชบัณฑิตยสถาน.

พันศักดิ์ พลสารัมย์. (ม.ป.ป.). การปฏิรูปการเรียนการสอนระดับอุดมศึกษา: การพัฒนากระบวนการเรียนรู้ในระดับปริญญาตรี. สืบค้นเมื่อ 23 มกราคม 2558, จาก http://www.edu.chula.ac.th/eduinfo/ed_resch/pansak.pdf

พันศักดิ์ พลสารัมย์ และวัลลภา เทพหัสดิน ณ อยุธยา. (2543). รายงานวิจัยเอกสาร เรื่อง การพัฒนากระบวนการเรียนรู้ในระดับปริญญาตรี. กรุงเทพฯ: ทบวงมหาวิทยาลัย.

ฤดี นิยมรัตน์. (2554). อัตลักษณ์ลวดลายเบญจรงค์ไทย: รายงานวิจัย. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยราชภัฎสวนสุนันทา.

สมชาย รัตนทองคำ. (2556). ลักษณะผู้เรียนระดับอุดมศึกษา: เอกสารประกอบการสอน 475788 การสอนทางกายภาพบำบัด ภาคต้นปีการศึกษา 2556.สืบค้นเมื่อ 23 มกราคม 2558, จาก http://ams.kku.ac.th/aalearn/resource/edoc/tech/54/6learner54.pdf

ศุภฤกษ์ รักชาติ. (2554). การวิเคราะห์ความต้องการจำเป็นด้านความเข้าใจเกี่ยวกับอัตลักษณ์โรงเรียนและกระบวนการกำหนดอัตลักษณ์โรงเรียนของผู้บริหารสถานศึกษา.วิทยานิพนธ์ปริญญา ครุศาสตรดุษฎีบัณฑิต, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.สกอ. เตรียมพร้อมผลิตบัณฑิตไทยในศตวรรษที่ 21. (2554, 8 สิงหาคม). จดหมายข่าวสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา. 2(27), 2-4.

สุภัชฌาน์ ศรีเอี่ยม. (2554). การพัฒนาอัตลักษณ์นิสิตในสถาบันอุดมศึกษา.วิทยานิพนธ์ปริญญา ครุศาสตรดุษฎีบัณฑิต, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

สุรางค์ โค้วตระกูล. (2544). จิตวิทยาการศึกษา.(พิมพ์ครั้งที่ 5). กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย.

อภิญญา เฟื่องฟูสกุล. (2546). อัตลักษณ์: การทบทวนทฤษฎีและกรอบแนวคิด.กรุงเทพฯ: คณะกรรมการสภาวิจัยแห่งชาติ สาขาสังคมวิทยา.

Burgess, A. (2010). The use of space-time to construct identity and context. Ethnography and Education. 5(1), 17-31.

Lairio, M., Puukari, S. & Kouvo, A. (2013). Studying at university as part of student life and identity construction. Scandinavian Journal of Education Research,57(2), 115-131.

Leve, A. M. (2012). The circuit of culture as a generative tool of contemporary analysis: examining of the construction of an education commodity. [Paper presented at the Joint AARE/APERA Conference, Sydney, 2012]. Retrieved December 14, 2014, from http://www.aare.edu.au/data/publications/2012/Leve12.pdf

Murray, K. (2003). The construction of identity in the narratives of romance and comedy. Retrieved December 14, 2014, from http://home.mira.net/~kmurray/psych/ir&c.htm

McNair, L. D., Newswander, C., Boden, D. & Borrego, M. (2011). Student and faculty interdisciplinary identity in self-management teams.Journal of Engineering Education. 100(2), 374-396.

Nygaard, C. & Serrano, M. B. (2009). Student’s identity construction and learning: reasons for developing a learning-centred curriculum in higher education. Journal of Education Research,3(3), 233-253.

Smith, G. (2006). Erving Goffman. New York: Routledge.

Stables, A. (2003). Learning, identity and classroom dialogue. Journal of Educational Enquiry, 4(1), 1-18.

Statt, D. A. (1998). The Concise Dictionary of Psychology. (3rd ed.). London: Routledge.

Translated Thai References

Fuengfusakul, A. (2003). Identity: theory and concept frameworks review. Bangkok: National Research Council of Thailand. [in Thai]

Kowtrakul, S. (2001). Educational psychology. (5th ed.). Bangkok: Chulalongkorn University Press. [in Thai]

Ministry of Education Thailand. (2011). Unique and Identity to the third round external assessment. Retrieved December 14, 2011, from http://www.moe.go.th/moe/th/news/detail.php?NewsID=24407&Key=hotnews [in Thai]

Niyomrath, R. (2011). Identity of Thai Benjarong Pattern: research. Bangkok: Suan Sunandha Rajabhat University. [in Thai]

OHEC. prepare to produce graduated student in 21st century. (2011, 8 August). OHEC Newsletter, 2(27), 2-4. [in Thai]

Polsaram, P. (n.d.). Learning and teaching in higher education reform: develop of the undergraduate learning process. Retrieved January 23, 2015, from http://www.edu.chula.ac.th/eduinfo/ed_resch/pansak.pdf [in Thai]

Rattanathongkom, S. (2013). Character of student in higher education: handout in 475788 teaching in physical therapy course academic year 2013. Retrieved January 23, 2015, from http://ams.kku.ac.th/aalearn/resource/edoc/tech/54/6learner54.pdf [in Thai]

Royal Institute Dictionary 1999. (2003). Bangkok: Office of the Royal Society. [in Thai]

Somboon, T. (2008). Identity of “Dek Ram” : research. Bangkok: Research and Development Institute Ramkhamhaeng University. [in Thai]

Sreprapandh, K. (2008). Representation of poor people in TV game. Thesis Doctor of Phylosophy (Mass Communication), Faculty of Journalism and Mass Communication, Thammasat University. [in Thai]

Sri-iam, S. (2554). Student identity development in higher education institutions. Thesis Doctor of Philosophy Program in Higher Education, Department of Educational Policy, Management, and Leadership Faculty of Education, Chulalongkorn University. [in Thai]

Terminology. (1994). Bangkok: Tonthum. [in Thai]21st century education skills. (2014). Retrieved January 23, 2015, from http://www.vcharkarn.com/varticle/60454 [in Thai]