ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจซื้อสินค้าอาหารสำเร็จรูปพร้อมรับประทาน ในร้านสะดวกซื้อของผู้บริโภคในเขตกรุงเทพมหานคร

Main Article Content

จิรารัตน์ จันทวัชรากร

บทคัดย่อ

          งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาพฤติกรรมการซื้อสินค้าและปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการเลือกซื้อสินค้าข้าวกล่องสำเร็จรูปพร้อมรับประทานของผู้บริโภคจากร้านสะดวกซื้อ เพื่อให้เห็นถึงแนวโน้มปริมาณความต้องการซื้อสินค้าข้าวกล่องสำเร็จรูปพร้อมรับประทานของผู้บริโภคในร้านสะดวกซื้อ การวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ (Survey Research) โดยใช้เครื่องมือในการรวบรวมข้อมูล คือ แบบสอบถาม (Questionnaires) สำรวจกลุ่มเป้าหมายจำนวน 490 คน ที่เข้ามาซื้อสินค้าข้าวกล่องสำเร็จรูปพร้อมรับประทานจากร้านสะดวกซื้อในเขตกรุงเทพมหานคร โดยใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบสองขั้นตอน (Two-stages Sampling) และใช้สถิติการวิจัยแบบพรรณนา (Descriptive statistic) การวิเคราะห์แจกแจงความถี่ (Frequency) ค่าร้อยละ (Percentage) ค่าเฉลี่ย (Mean) และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard deviation) สถิติที่ใช้ทดสอบสมมติฐาน ได้แก่ การทดสอบความสัมพันธ์ของข้อมูลด้วยไคสแควร์ (Chi-square Test) ผลการศึกษาพบว่า ผู้ตอบแบบสำรวจส่วนใหญ่นิยมซื้อข้าวกล่องสำเร็จรูปพร้อมรับประทานจากร้านจำหน่ายอาหารทั่วไป เพื่อรับประทานในที่ทำงานและที่บ้านหรือที่พักในช่วงมื้อเช้าและมื้อกลางวัน และมักจะซื้อจากร้านสะดวกซื้อที่ตั้งอยู่ใกล้บ้าน ใกล้ที่ทำงาน โดยคำนึงถึงรสชาติเป็นอันดับแรก มีความพึงพอใจต่อปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดด้านผลิตภัณฑ์ ราคา ช่องทางการจัดจำหน่าย และการส่งเสริมการตลาดของสินค้าข้าวกล่องสำเร็จรูปพร้อมรับประทานจากร้านสะดวกซื้อในระดับมาก

 

           This research aims to study the consumer purchasing behavior and the influenced factors which affect to the purchasing decision making of ready-to-eat rice box product from the convenience stores. In order to know the purchasing volume trend of ready-to-eat rice box products in convenience stores. This study was the survey research by using the questionnaire for the data gathering to 490 target persons who came to buy ready-to-eat product at convenience stores in Bangkok areas by using two-stages sampling random and formulated by descriptive statistics , the frequency descriptive analysis, percentage, mean and the standard deviation (S.D.) The statistics used to test hypotheses relationship was chi-square. The findings reveal that the majority of the sampling preferred buying the ready-to-eat rice box product from the general food stores for their breakfast and lunch in their homes or workplaces. And also preferred buying from the convenience store which located close to their house or workplace. Their first consideration were the food taste. They satisfied with the marketing-mix of the ready-to-eat rice box product from the convenience store, product, price, place and promotion at high level.

 

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

กองโภชนาการ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข. (2549). รายงานประจำปี. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์องค์การรับส่งสินค้าและพัสดุภัณฑ์.

จันทิมา คุณกะมุท และศศิประภา ถีระพันธ์. (2556). พฤติกรรมการของผู้ใช้บริการร้านสะดวกซื้อเซเว่นอีเลฟเว่น ในเขตอำเภอเมือง จังหวัดสุพรรณบุรี. สืบค้นเมื่อ 9 กุมภาพันธ์ 2559, จาก http://sevenelevenssm.blogspot.com/p/blog-page_15.html

ชนาธิป ผลาวรรณ์ และจิรวรรณ ดีประเสริฐ. (2556). พฤติกรรมการซื้อสินค้าและบริการของกลุ่มเบบี้บูมเมอร์ที่ร้านสะดวกซื้อในเขตกรุงเทพมหานคร. วารสารปัญญาภิวัฒน์, 5(1), 121-133.

ปฏิพัทธ์ เจิดนภา. (2553). การส่งเสริมการขายที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการซื้อสินค้าของลูกค้าในร้านเซเว่นอีเลฟเว่น เขตบางรัก จังหวัดกรุงเทพมหานคร. สารนิพนธ์บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต, สถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์.

เปรมชัย ทองพุ่ม. (2553). ส่วนประสมทางการตลาดบริการที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการใช้บริการของลูกค้าร้านเซเว่นอีเลฟเว่น เขตอำเภอบางปะอิน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา. สารนิพนธ์บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต, สถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์.

ศิริวรรณ เสรีรัตน์ และคณะ. (2552). การบริหารการตลาดยุคใหม่. กรุงเทพฯ: บริษัท ธรรมสาร จำกัด.

สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา. (2545). ความปลอดภัยของอาหาร. สืบค้นเมื่อ 16 มิถุนายน 2554, จาก http://elib.fda.moph.go.th/library/default.asp?page2=elaw

สถาบันวิจัยโภชนาการ มหาวิทยาลัยมหิดล. (2549). ผลการสำรวจข้อมูลการบริโภคอาหารของประเทศไทย. สืบค้นเมื่อ 16 มิถุนายน 2554, จาก http://www.inmu.mahidol.ac.th/th/research/overview.php

สำนักงานสถิติแห่งชาติ. (2552). รายงานผลการสำรวจพฤติกรรมการดูแลสุขภาพของประชากร. สืบค้นเมื่อ 16 มิถุนายน 2554, จาก http://service.nso.go.th/nso/nsopublish/service/survey/healthCare_52.pdf

Armstrong, G. & Kotler, P. (2009). Marketing. An Introduction (9th ed.). United State of America: Prentice Hall.

Bhathagar, A. (1998). An Inquiry into the Determinants of Store Assortments, Retail Formats and Patronage Patterns (Consumers). Ph.D. dissertation, State University of New York at Buffalo.

Fox, E. J. (1999). Analysis of Household Shopping Behavior across Retail Formats (Chain Stores). Ph.D. dissertation, University of Pennsylvania.

Zikmund, W. & d’ Amico, M. (2001). Customer Behavior. United State of America: South-Western Educational Publish.

Translated Thai References

Cherdnapa, P. (2010). The promotion is related to the purchasing behavior of customers at the Seven Eleven Store in Bang Rak, Bangkok. MBA Thesis, Panyapiwat Institute of Management.[in Thai]

Institute of Nutrition Mahidol University. (2006). The survey data on food consumption in Thailand. Retrieved June 16, 2011, from http://www.inmu.mahidol.ac.th/th/research/overview.php [in Thai]

Kunkamuth, J. & Thirapan, S. (2013). The behavior of the convenience store Seven Eleven. In the city Suphanburi Province. Retrieved February 9, 2016, from http://sevenelevenssm.blogspot.com/p/blog-page_15.html [in Thai]

Ministry of Health, Department of Health, Division of Nutrition. (2006). Annual Report. Bangkok: ETO. [in Thai]

National Statistical Office. (2009). The result of the survey the health of the population. Retrieved June 16, 2011, from http://service.nso.go.th/nso/nsopublish/service/survey/healthCare_52.pdf[in Thai]

Plawan, C. & Deeprasert, J. (2013). Behavior goods and services of Baby Boomers at a convenience store in Bangkok. Panyapiwat Journal, 5(1), 121-133. [in Thai]

Sereerat, S. et al. (2009). New Age Marketing Management. Bangkok: Thammasarn. [in Thai]

The Food and Drug Administration. (2002). Food safety. Retrieved June 16, 2011, from http://elib.fda.moph.go.th/library/default.asp?page2=elaw [in Thai]

Thongpoom, P. (2010). The marketing services that are related to the behavior of service. Customers shop at the Seven Eleven.Bang Pa In, Ayutthaya. MBA Thesis, Panyapiwat Institute of Management. [in Thai]