ทัศนคติของผู้สูงอายุที่มีต่อสิทธิผู้สูงอายุตามพระราชบัญญัติผู้สูงอายุ พ.ศ.2546 ในการร่วมกิจกรรม ณ สวนสาธารณะของกรุงเทพมหานคร

Main Article Content

อุไรวรรณ รุ่งไหรัญ

บทคัดย่อ

          การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยสำรวจ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาทัศนคติของผู้สูงอายุเกี่ยวกับสิทธิตามพระราชบัญญัติผู้สูงอายุ พ.ศ.2546 ทั้งด้านความรู้ ความรู้สึก และพฤติกรรมการเข้าถึงสิทธิ โดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการรวบรวมข้อมูลจากผู้สูงอายุที่มีอายุตั้งแต่ 60 ปีขึ้นไป ที่มาร่วมกิจกรรม ณ สวนสาธารณะของกรุงเทพมหานคร ขนาดกลุ่มตัวอย่างจำนวน 323 คน 

          ผลการศึกษาพบว่า ส่วนใหญ่ผู้สูงอายุเป็นเพศหญิง ร้อยละ 53.9, อายุ 60-64 ปี ร้อยละ 41.5, การศึกษาระดับประถมศึกษา ร้อยละ 34.0, สถานภาพสมรส ร้อยละ 74.9, พักอาศัยอยู่กับคู่สมรสและบุตรหลาน ร้อยละ 56.1, ไม่ได้ประกอบอาชีพ ร้อยละ 62.8, มีรายได้ต่อเดือนระหว่าง 10,001-20,000 ร้อยละ 35.67 และมาร่วมกิจกรรมในสวนสาธารณะเป็นประจำทุกวันตลอดสัปดาห์ ร้อยละ 20.9 สำหรับความรู้ต่อสิทธิผู้สูงอายุนั้น พบว่า ผู้สูงอายุ มีระดับความรู้ปานกลาง มีความคิดเห็นต่อสิทธิอยู่ในระดับเห็นด้วยอย่างยิ่ง แต่มีพฤติกรรมการเข้าถึงสิทธิอยู่ในระดับต่ำ (ไม่เคยใช้สิทธิ)

          เมื่อทำการทดสอบระดับนัยสำคัญที่ระดับ .05 พบว่า ผู้สูงอายุที่พักอาศัยอยู่คนเดียวมีระดับความรู้และพฤติกรรมการเข้าถึงสิทธิสูงกว่าผู้สูงอายุที่อยู่กับคู่สมรสและบุตรหลาน ผู้สูงอายุที่มีความถี่ในการมาสวนสาธารณะบ่อยมีความสัมพันธ์กับความคิดเห็นทีดีต่อสิทธิผู้สูงอายุตามพระราชบัญญัติฯ และผู้สูงอายุที่มีความรู้สูงย่อมมีพฤติกรรมการเข้าถึงสิทธิสูงตามไปด้วย

 

          The study had an objective to study on the attitude of towards the elderly rights according to The Act on Elderly B.E. 2546 in knowledge, feeling, and behavior to obtain the rights. The questionnaire was the tools to collect the data from the old people who were older than 60 years old who participated in the activities at the parks in Bangkok The sample group is 323 old people.

          The study found that most of the old people were women, 53.9%. 41.5% were 60-64 years old. 34% had completed primary school level. Most of them, 74.9% were married. 62.8% of them were unemployed. 20.9% of them participated in the exercise activities in the park everyday. Regarding to the attitude towards the rights according to The Act on Older Persons B.E. 2556 (2003 A.D.), it was found that old people who participated in the activities at the parks in Bangkok had moderate knowledge of the rights, had strongly agreeable opinion, and had less behavior in rights accessibility (never exercise the rights).

          Moreover, when testing with statistical significance at 0.5 level, the result was that the old people who lived alone have the higher knowledge and behavior level than those who lived with spouse and children. Old people who frequently come to the park had related to the positive attitude towards the rights of old people. Lastly, old people who had high level of knowledge would have the behavior to highly access the rights as well

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

กัลยา วานิชย์บัญชา. (2552). สถิติสำหรับงานวิจัย. (พิมพ์ครั้งที่ 4). กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

คณะกรรมการผู้สูงอายุแห่งชาติ กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์. (2552). แผนผู้สูงอายุแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (พ.ศ.2545-2564) ฉบับปรับปรุงครั้งที่ 1 พ.ศ. 2552. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์เทพเพ็ญวานิสย์.

พัชรี มนจิตร. (2552). ทัศนะต่อแนวทางการพิทักษ์สิทธิตนเองของผู้สูงอายุตามพระราชบัญญัติผู้สูงอายุ พ.ศ. 2546: กรณีศึกษาชมรมผู้สูงอายุเขตกรุงเทพมหานครในเครือข่ายสภาผู้สูงอายุแห่งประเทศไทย. วิทยานิพนธ์สังคมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการบริหารและนโยบายสวัสดิการสังคม ภาควิชาสังคมสงเคราะห์ศาสตร์, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

มูลนิธิสถาบันวิจัยและพัฒนาผู้สูงอายุไทย (มส.ผส.). (2557). สถานการณ์ผู้สูงอายุไทย 2556. กรุงเทพฯ: อมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พับบลิชชิง.

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550. (2550). กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์คุรุสภา.

วิพรรณ ประจวบเหมาะ และคณะ. (2553). การทบทวนและสังเคราะหองค์ความรู้ผู้สูงอายุไทย พ.ศ. 2545-2550.กรุงเทพฯ: มูลนิธิสถาบันวิจัยและพัฒนาผู้สูงอายุไทย.

ศศิพัฒน์ ยอดเพชร. (2548). รายงานการวิจัยโครงการผู้ดูแลผู้สูงอายุในครอบครัว. กรุงเทพ: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

ศศิพัฒน์ ยอดเพชร. (2550). ศูนย์อเนกประสงค์สำหรับผู้สูงอายุในชุมชน: กลไกการดำเนินงานเพื่อความยั่งยืน. กรุงเทพ: มิสเตอร์ก๊อปปี้.

ศศิพัฒน์ ยอดเพชร และวรรณลักษ์ เมียนเกิด. (2551). การเข้าถึงสิทธิตามพระราชบัญญัติผู้สูงอายุ พ.ศ. 2546 ของผู้สูงอายุ. กรุงเทพฯ: บริษัท มิสเตอร์ก๊อปปี้ (ประเทศไทย) จำกัด.

สถาบันประชากรศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล. (2556). มิเตอร์ประเทศไทย. สืบค้นเมื่อ 8 กรกฏาคม 2557, จาก www.thailandometers.mahidol.ac.th

สุภาภรณ์ คำเรืองฤทธิ์. (2556). การเตรียมความพร้อมเพื่อวัยสูงอายุของประชากร. วารสารประชากรศาสตร์, 29(1), 72.

สุริยา แป้นสุขา. (2550). ปัจจัยที่มีผลต่อการเข้าถึงบริการสวัสดิการสังคมของผู้สูงอายุตามพระราชบัญญัติผู้สูงอายุ พ.ศ. 2546: กรณีศึกษาเขตเทศบาลตำบลศรีพนา อำเภอเซกา จังหวัดหนองคาย. วิทยานิพนธ์สังคมสงเคราะห์ศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ. (2554). ยุทธศาสตร์การวิจัยรายสาขา: ด้านสังคมผู้สูงอายุ. สืบค้นเมื่อ 20 มีนาคม 2558, จาก www1.nrct.go.th/downloads/ps/seminar_13-03-2012/group9.pdf

สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2550). แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 10 (พ.ศ. 2550-2554). กรุงเทพฯ: สำนักนายกรัฐมนตรี.

สำนักพัฒนาฐานข้อมูลและตัวชี้วัดภาวะสังคม สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2557). รายงานการวิเคราะห์สถานการณ์ความยากจนและความเหลื่อมล้ำของประเทศไทย ปี 2555. กรุงเทพฯ: สำนักนายกรัฐมนตรี.

สำนักยุทธศาสตร์และประเมินผล กรุงเทพมหานคร. (2555). สถิติกรุงเทพมหานคร ปี 2555. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์คณะรัฐมนตรีและราชกิจจานุเบกษา.

สำนักงานส่งเสริมและพิทักษ์ผู้สูงอายุ. (2553). พระราชบัญญัติผู้สูงอายุ พ.ศ. 2546 ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2553. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์เทพเพ็ญวานิสย์.

สำนักงานส่งเสริมและพิทักษ์ผู้สูงอายุ. (2556). รายงานผลการดำเนินงานรองรับสิทธิผู้สูงอายุตาม พรบ. ผู้สูงอายุ พ.ศ. 2546 ประจำปีงบประมาณ 2554-2555. กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์.

อัจฉรา ปัณฑานุวงศ์ และกิติมา สุรสนธิ. (2554). การสื่อสารและการปรับตัวของผู้สูงอายุในเมือง. รายงานการวิจัยได้รับทุนสนับสนุนจากคณะวารสารศาสตร์และสื่อสารมวลชน, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

อุไรวรรณ รุ่งไหรัญ. (2557). คอลัมน์ Thailand Human Vision: การพัฒนาสวัสดิการสังคมในบริบทประชาคมอาเซียน: ข้อพิจารณาสำหรับการปฏิรูปกฎหมายสวัสดิการสังคมและแรงงาน. วารสาร HR Intelligence, 9(2).

Translated Thai References

Bureau of Empowerment for Older Persons. (2010). The Act on the Elderly, B.E. 2546 (2003 A.D.) 1st Revised of 2010. Bangkok: Theppenvanich Printing. [in Thai]

Bureau of Empowerment for Older Persons. (2013). Report of Operations Support according to the Elderly, B.E.2546 (2003 A.D.) Seniors 2011-2012 Fiscal year. Ministry of Social Development and Human Security. [in Thai]

Constitution of The Kingdom of Thailand 2007. (2007). Bangkok: TCT Printing. [in Thai]Foundation of Thai Gerontology Research and Development Institute. (2014). Situation of the Thai Elderly 2014. Bangkok: Amarin Printing and Publishing. [in Thai]

Institute for Population and Social Research, Mahidol University. (2013). Miter of Thailand. Retrived July 8, 2013, from www.thailandometers.mahidol.ac.th [in Thai]

Kumruangrit, S. (2013). The Preparation for Old Age of Thai Population. Journal of Demography, 29(1), 72. [in Thai]

Monajit, P. (2009). Opinion on self advocate to the Elderly Act B.E. 2003: the case study Bangkok’s Elderly Club, the Age Net of Senior Citizens Council of Thailand. Faculty of Social Administration, Thammsat University, Bangkok. [in Thai]

National Research Council of Thailand. (2011). Strategic Research Sectors: the aging society. Retrived March 20, 2015, from www1.nrct.go.th/downloads/ps/seminar_13-03-2012/group9.pdf [in Thai]

Office of National Economies and Social development Board. (2007). The National Social and Economic Development Plan issue 10 (2007-2011). Bangkok: The Prime Minister’s Office. [in Thai]

Pansuka, S. (2007). Factors influencing on accessibility to social welfare service for the elderly people in Sri Phana Community, Seka District, Nong Khai Province in the Act of Elderly People Legistration in B.E. 2546. Faculty of Social Administration, Thammsat University, Bangkok. [in Thai]

Panthanuwong, A. & Surasonthi, K. (2011). Communication and adaptation of the elderly in the Bangkok. Supported by Faculty of Journalism and Mass Communication, Thammasat University, Bangkok. [in Thai]

Prachuabmoh, V. et al. (2010). The review and synthesis of knowledge for the Thai Elderly 2002-2007. Bangkok: Foundation of Thai Gerontology Research and Development Institute. [in Thai]

Runghairun, U. (2014). Column Thailand Human Vision: The development of social welfare in the context of ASEAN: Considerations for the Reform Law of Social Welfare and Labor. Journal of HR Intelligence, 9(2). [in Thai]

Social Data-based and Indicator Development Office, Office of National Economies and Social development Board. The report analyzes the situation of poverty and inequality in Thailand 2012. Bangkok: The Prime Minister’s Office. [in Thai]

Strategy and Evaluation Department Bangkok Metropolitan Administration. (2012). 2012 Statistical Profile of Bangkok Metropolitan Administration, Bangkok. [in Thai]

The National Committee for the Elderly. (2010). Ministry of Social Development and Human Security. The 2nd National Plan on The Elderly (2002-2021), 1st Revised of 2009. Bangkok: Theppenvanich Printing. [in Thai]

Wanichbuncha, K. (2009). Statistic for Research. (4th ed.). Bangkok: Chulalongkorn University. [in Thai]

Yodphet, S. (2005). Family caregiver of older persons. Bangkok: Thammasat Printing. [In Thai]

Yodphet, S. (2007). Center for the Elderly Community: implementation mechanism for sustainability. Bangkok: Mister Copy Printing. [in Thai]

Yodphet, S. & Meankerd, W. (2008). The Access to the Right According to the Elderly Act B.E. 2546 of The Elderly. Bangkok: Mister Copy Printing. [in Thai]