การเขียนบทความวิจัย การวิจัยเพื่อสังคม

Main Article Content

เพชรรัตน์ วิริยะสืบพงศ์

บทคัดย่อ

          แนวทางการเขียนบทความวิจัยเพื่อสังคม ตามหลักเกณฑ์ ก.พ.อ. ฉบับที่ 9 พ.ศ. 2556 เพื่อขอตำแหน่งทางวิชาการ ด้วยกรอบการวิเคราะห์เนื้อหา 7 ขั้นตอน ประกอบด้วย 1) สภาพการณ์ก่อนการเปลี่ยนแปลง 2) การมีส่วนร่วม และการยอมรับของสังคมเป้าหมาย 3) กระบวนการที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงที่ดี 4) ความรู้ ความเชี่ยวชาญที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลง 5) การคาดการณ์ผลที่ตามมา 6) การประเมินผล และ 7) การเปลี่ยนแปลงอย่างยั่งยืน 

 

          The guidelines for writing an article for socially engaged research according to commission on higher education (COHE) no. 9 in 2013 for requiring an academic position. There are seven steps for frame analysis: 1) Situation analysis 2) Participation / Collaborative 3) Action / Activities design 4) Knowledge 5) Output / Outcomes / Impact 6) Evaluation analysis and 7) Change sustainability

Article Details

บท
บทความวิชาการ

References

กอบเกียรติ สระอุบล และพัลลภ พิริยะสุรวงศ์. (2557). สื่อการสอนช่วยลดภาระทางปัญญาสำหรับการศึกษาในยุคดิจิทัล. วารสารปัญญาภิวัฒน์, 6(1), 198-207.

กาญจนา ทองทั่ว. (2552). ลีลาวิจัยไทบ้าน ถอดบทเรียน ประสบการณ์ คนทำงานวิจัยเพื่อท้องถิ่น. เชียงใหม่: หจก.วนิดาการพิมพ์ เชียงใหม่.

นภาลัย สุวรรณธาดา, ธิดา โมสิกรัตน์ และสุมาลี สังข์ศรี. (2553). การเขียนผลงานวิชาการและบทความ. (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: ห้างหุ้นส่วนจำกัดภาพพิมพ์.

ปิยะวัติ บุญ-หลง, สุดารัตน์ คำปลิว, สุธีระ ประเสริฐสรรพ์, บวร ปภัสราทร, รัศมี ชูทรงเดช, กาญจนา แก้วเทพ, สุรพล วิรุฬรักษ์, สายันต์ ไพรชาญจิตร์, ภาสกร อินทุมาร, ศุภร ชูทรงเดช และสมพร อิศวิลานนท์. (2558). หลักสูตร นักวิชาการเพื่อสังคม รุ่น 2 ส่วนที่ 2 การวิเคราะห์และสังเคราะห์ผลงานวิชาการเพื่อสังคม การเขียนบทความและการเผยแพร่ผลงานวิชาการเพื่อสังคมลักษณะอื่น, เอกสารประกอบคำบรรยายสถาบันคลังสมอง.26-30 มกราคม 2558 ณ โรงแรมปทุมวันปริ้นเซล กรุงเทพฯ.

เพชรรัตน์ วิริยะสืบพงศ์. (2556). ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง: ความเป็นมาและความหมาย. วารสารการจัดการธุรกิจ มหาวิทยาลัยบูรพา, 2(2), 80-81.

แพ็ททริค กิฟเวน-วิลสัน. (2555). สุทธี ชโยดม แปล. มหาสติปัฏฐานสูตร (ธรรมบรรยายฉบับย่อ) ทางสู่ความหลุดพ้น.เรียบเรียงจากธรรมบรรยายในหลักสูตรสติปัฏฐานของท่านอาจารย์โกเอ็นก้า. (พิมพ์ครั้งที่ 4). กรุงเทพฯ: มูลนิธิส่งเสริมวิปัสสนากรรมฐานในพระสังฆราชูปถัมภ์.

สิทธิ์ ธีรสรณ์. (2557). เทคนิคการเขียนบทความวิชาการ. (พิมพ์ครั้งที่ 3). กรุงเทพฯ: บริษัทแอคทีฟ พริ้นท์ จำกัด.

สุธีระ ประเสริฐสรรพ์. (2548). วิจัย...ยังมีอะไรที่ไม่รู้ (ว่าไม่รู้). กรุงเทพฯ: สำนักกองทุนสนับสนุนการวิจัย.อุทุมพร (ทองอุไทย) จามรมาน. (2531). การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณลักษณะ. เล่มที่ 4. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ฟันนี่.

อุทุมพร (ทองอุไทย) จามรมาน. (2545). การเขียนโครงการวิจัย. เล่มที่ 9. (พิมพ์ครั้งที่ 3). กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ฟันนี่.

อุทุมพร (ทองอุไทย) จามรมาน. (2548). การทำวิจัยทางสังคมศาสตร์: ปัญหาวิจัย วัตถุประสงค์การวิจัย สมมติฐานการวิจัย และชื่อเรื่อง เล่มที่ 29. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ฟันนี่.เอนก ชิตเกษร และพรรณนุช ไชยปินชนะ. (ม.ป.ป.). การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม (PAR = Participatory Action Research). สืบค้นเมื่อ 4 กุมภาพันธ์ 2558, จาก http://business.payap.ac.th/ba-km/km%20การวิจัยปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม.pdf

Oknation. (2552). ทางสายเอกใน “พุทธศาสนา” คือ การเจริญ “สติปัฏฐาน ๔”. สืบค้นเมื่อ 4 กุมภาพันธ์ 2558, จาก http://www.oknation.net/blog/pierra/2009/03/14/entry-1

Whyte, W. F. (2556). มงคลเลิศ ด่านธานินทร์ แปลและเรียบเรียง. ระเบียบวิธีวิจัยสังคมจากประสบการณ์จริง Modern Methods in Social Research. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แมคกรอ-ฮิล.

Fitzgerald, H. E. (2006). Engaged Research. Retrieved February 2, 2015, from http://ncsue.msu.edu/files/KU_EngagedResearch_hef_112906.pdf

Translated Thai References

Bun Lung, P., Khamplev, S., Praseutsab, S., Boun, P., Chochongdech, R., Kaewthep, K., Virotrak, S., Phaichanchit, S., Inthumal, P., Chochongdech, S. & Issavilanon, S. (2015). Think Tank Institute’s document. Social Scholar Program, second edition, part 2. The analysis and synthesis of soical research. Writing articles and publishing for social work and others between 26 and 30 January, 2558 at Pathunam Princess, Bangkok. [in Thai]

Chamornmarn, U. (1988). Qualitative Data Analysis. volume 4. Bangkok: Funny Print. [in Thai]

Chamornmarn, U. (2002). Writing Research Planning. volume 9. (3rd ed.). Bangkok: Funny Print. [in Thai]

Chamornmarn, U. (2005). The social science reserach : research problem, research purpose, research hypotheses, and topic. volume 29. Bangkok: Funny Print. [in Thai]

Chitkesornput, A. & Jaipinjana, P. (n.d.). Participatory Action Research (PAR). Retrieved February 4, 2015, from http://business.payap.ac.th/ba-km/km%20 [in Thai]

Oknation. (2009). The ultimate path in the “Buddhism” is to develop “Four Foundations of Mindfulness”. Retrieved February 4, 2015, from http://www.oknation.net/blog/pierra/2009/03/14/entry-1 [in Thai]

Praseutphong, S. (2005). Anything you don’t know... research?. Bangkok: Research Fund Institute (RFI). [in Thai]

Saubon, K. & Piriyaworng, P. (2014). Teaching reduce the outstanding intellectual for education in the digital age.Panyapiwat Journal, 6(1), 198-207. [in Thai]

Sovanthada, N., Moksekarath, T. & Sangsee, S. (2010). Writing paper and articles. (2nd ed.). Bangkok: Print Partnership, Limited. [in Thai]

Thisan, S. (2014). Writing Academic Article Techniques. (3rd ed.). Bangkok: Active Print Public Company Limited. [in Thai]

Thorng Thour, K. (2009). Independent Research on house style, lesson, experience and local research. Research Fund Institute (RFI): local research. Chieng Mai: Vanida Printing House. [in Thai]

Virayasueubphong, P. (2013). The Philosophy of Sufficiency Economy: History and Meaning. Sufficiency Economy Philosophy: Historical Background and Interpretation. Journal of Business Management. Burapha University, 2(2), 80-81. [in Thai]

Wilson, P. G. (2012). Suthi Chha Yoo Dom translation: Great Wisdom (Brift Dhamma Lecture), a great way to nirvana. Compiled from religious lectures in the course of great wisdom by great teacher Koinka. (4th ed.). Bangkok: Mediatation Foundation. [in Thai]

Whyte, W. F. (2013). Mongkonlert Darntanin Compiled. Experiences in Social Science Research Methodology, Modern Methods in Social Research. Bangkok: Mcgraw-Hill. [in Thai]