Factors Affecting Consumer’s Buying Decision of Cannabis Food Products in Bangkok Metropolis

Main Article Content

Takunrat Taksima
Panitee Suwanamornlert
Puri Chunkajorn
Kanin Tripipitsiriwat
Teerapat Chomchuenjitsin

Abstract

This research aims to analyze the factors affecting consumer’s buying decision of cannabis food products in Banfkok. The research samples were 400 consumers of cannabis food products  in Bangkok selected by  purposive sampling method.  The research instrument was  a questionnaire.   The data received  were analyzed by percentage, standard deviation, and multiple regression analysis. The results of the research revealed that the majority of the respondents were between 35-44 (39%),  female (54%), graduated with a bachelor’s degree (48%).  The majority of them were company employees who earned monthly income between 10,001 and 30,000 baht (52.5%). The demographic factors of the respondents had no influence on their decision to purchase cannabis food products at a statistical significance of.05. On the other hand, it was discovered that attitude factors and causal factors influenced respondents' decisions to purchase cannabis food products at a statistical significance of.05. Finally, the findings of this study can be used to develop guidelines for developing cannabis food products for consumers.

Article Details

Section
บทความวิจัย

References

ฉลองศรี พิมลสมพงศ์. (2548). การวางแผนและการพัฒนาตลาดการท่องเที่ยว. คณะมนุษยศาสตร์

มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ.

ฉัตยาพร เสมอใจ. (2550). พฤติกรรมผู้บริโภค. กรุงเทพฯ : ซีเอ็ดยูเคชั่น จำกัด.

ชนม์ชุดา วัฒนะธนากร และ บุฎกา ปัณฑุรอัมพร. (2564). ปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจซื้อเครื่องดื่มที่มีส่วนผสมของกัญชา-กัญชงของผู้บริโภค ในเขตกรุงเทพมหานคร. คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยรามคำแหง, กรุงเทพฯ.

ณัฐธิดา ฝีปากเพราะ กมลชนก คํายอดม่วง ชญานุช จันทร์ต้น ปวันรัตน์ สีชอล์ค ภควดี ขันทะกสิกรรม ศิริพร ตั๋นธรรม ศิริรัตน์ คงพล และ ประจวบ แหลมหลัก. (2563). ปัจจัยทำนายความตั้งใจการใช้กัญชาในกระบวนการรักษาความเจ็บป่วยของนิสิตสาขาวิชาอนามัยชุมชน. วารสารการพยาบาล การสาธารณสุขและการศึกษา, 21(1), 91-104.

ทัศยาพร เวียงวุธ และ นันทวัน เหลี่ยมปรีชา. (2564). ทัศนคติและพฤติกรรมของผู้บริโภคที่มีต่อส่วนประสมทางการตลาดในการซื้อข้าว กข 43 บรรจุถุงในเขตพื้นที่อำเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก. โครงการนำเสนอผลงานวิชาการระดับชาติ ประจำปี พ.ศ.2564 วันที่ 1 เมษายน 2564 ณ คณะบริหารธุรกิจ เศรษฐศาสตร์ และการสื่อสารมหาวิทยาลัยนเรศวร.

บุณธรรม กิจประดาบรสุทธิ์. (2547). ระเบียบวิธีการวิจัยทางสังคมศาสตร์. กรุงเทพฯ : บริษัทแอดวานซ์อินโฟร์เซอร์วิสจำกัด (มหาชน).

ปรีดาภรณ์ สายจันเกตุ พิมพ์พร โนจันทร์ นิติรัตน์ มีกาย และ รัศมี สุขนรินทร. (2563). ความรู้และทัศนคติเกี่ยวกับการใช้กัญชาในการรักษาโรคของประชาชน ในจังหวัดพิษณุโลก. วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก, 18(3), 596-603.

เปรมกมล หงส์ยนต์. (2562). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจซื้อสินค้าผ่านทางแอพพลิเคชั่นออนไลน์ (ลาซาด้า) ของผู้บริโภคยุคดิจิทัลในกรุงเทพมหานคร. คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยสยาม, กรุงเทพฯ.

รัชฎาภรณ์ อึ้งเจริญ พัสกร องอาจ และ สุนทรี โอรัตนสถาพร. (2564). ความรู้ และทัศนคติที่มีต่อกัญชาทางการแพทย์ของประชาชน ตำบลท่าแร่ อำเภอเมือง จังหวัดสกลนคร. วารสารกฎหมายและนโยบายสาธารณสุข, 7(1), 69-86.

โรงพยาบาลเจ้าพระยาอภัยภูเบศร. (2564). Cannabis cook book. กรุงเทพฯ : กลุ่มงานการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก และกลุ่มงานเภสัชกรรม โรงพยาบาลเจ้าพระยาอภัยภูเบศร.

ลัดดาวัลย์ โชคถาวร และขวัญกมล ดอนขาว. (2560). อิทธิพลของปัจจัยส่วนประสมการตลาดและปัจจัยทัศนคติที่ส่งผลต่อการตัดสินใจซื้ออาหารคลีนของผู้บริโภคในจังหวัดนครราชสีมา. วารสารวิจัยมหาวิทยาลัยของแก่น สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, 15(2), 79-91.

วชิรวัชร งามละม่อม. (2558). การบริหารภาครัฐแนวใหม่ (New Public Management: NPM). กรุงเทพฯ : สถาบันTDRM.

วีรยา ถาอุปชิต และ นุศราพร เกษสมบูรณ์. (2560). การใช้กัญชาทางการแพทย์. วารสารเภสัชศาสตร์อีสาน, 13(2560), 228-240.

ศิรินุช เศรษฐพานิช และสุพิชา บูรณะวิทยาภรณ์. (2564). ปัจจัยที่ส่งผลต่อความตั้งใจซื้ออาหารทางเลือกประเภทโปรตีนจากพืชในรูปแบบอาหารแห้ง –ขนมขบเคี้ยวสำหรับผู้สูงอายุในกรุงเทพมหานคร และแนวทางในการพัฒนาผลิตภัณฑ์. วารสารวิทยาลัยดุสิตธานี, 15(2), 412-428.

สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข. (2562). คู่มือแนวทางการพัฒนาระบบบริการสุขภาพ (Service Plan) สาขาการใช้กัญชาทางการแพทย์ . กรุงเทพฯ : กองบริหารการสาธารณสุข.

สุทามาศ จันทรถาวร. (2556). ปัจจัยสวนประสมทางการตลาดที่ส่งผลต่อการตัดสนใจเลือกซื้อสินค้าบน Facebook ของประชากรในเขตกรุงเทพมหานคร. คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต, ปทุมธานี.

สุภชญ ศรีกัญชัย และ ลัดดา ปินตา. (2564). กลยุทธ์การตลาดองค์รวมที่มีอิทธิพลต่อผลการดำเนินงานของวิสาหกิจเริ่มต้น (ธุรกิจสตาร์ทอัพ) ในจังหวัดเชียงใหม่. วารสารบริหาธุรกิจและศิลปะศาสตร์ ราชมงคลล้านนา, 9(2), 1-16.

DeVellis, R. F. (2017). Scale development: Theory and applications. Thousand Oaks, CA : Sage.

Kapuge, K. D. L. A. (2016). Determinants of organic food buying behavior: special reference to organic food purchase intention of Sri Lankan customers. Procedia Food Science, 6(2016), 303-308.

Ruangkalapawongse, A. & Ruangkalapawongse S. (2015). Factors related to decision making to buy functional food products for senior cetizens in the Bangkok metropolis. SDU Research Journal, 11(2), 153-173.

Valentin, D., Chollet, S., Lelievre, M. & Abdi, H. (2012). Quick and dirty but still pretty good: a review of new descriptive methods in food science. International Journal of Food Science and Technology, 47(8), 1563–1578.