การพัฒนาโปรแกรมฝึกอบรมเพื่อเสริมสร้างความยืดหยุ่นทางอารมณ์

Main Article Content

ชนมน สุขวงศ์

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) พัฒนาโปรแกรมการฝึกอบรมเพื่อเสริมสร้างความยืดหยุ่นทางอารมณ์ นักศึกษาคณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ 2) ศึกษาผลของการใช้โปรแกรมการฝึกอบรมเพื่อเสริมสร้างความยืดหยุ่นทางอารมณ์ นักศึกษาคณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ รูปแบบการวิจัยเป็นการวิจัยแบบแผนการทดลองขั้นต้น กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้เป็นนักศึกษาคณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ จำนวน 12 คน เครื่องมือที่ใช้ในการทดลอง ประกอบด้วย 1) โปรแกรมการฝึกอบรมเพื่อเสริมสร้างความยืดหยุ่นทางอารมณ์ 2) แบบวัดความยืดหยุ่นทางอารมณ์ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิตินอนพาราเมตริก โดยใช้วิธีทดสอบแบบ The Wilcoxon Matched Pairs Signed-Ranks Test


ผลการวิจัยพบว่า การใช้โปรแกรมการฝึกอบรมเพื่อเสริมสร้างความยืดหยุ่นทางอารมณ์ของนักศึกษาที่เข้าร่วมโปรแกรมการฝึกอบรม มีคะแนนหลังการทดลอง และคะแนนติดตามผลการทดลอง 1 เดือนสูงกว่าคะแนนก่อนการทดลองอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05

Article Details

บท
Research Articles (บทความวิจัย)

References

ชูชัย สมิทธิไกร. (2558). การฝึกอบรมบุคลากรในองค์การ (พิมพ์ครั้งที่ 5). สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ดวงพร กิตติสุนทร. (2559). ผลของกลุ่มการปรึกษาเชิงจิตวิทยาแนวปัญญาพฤติกรรมนิยมต่อ ความสามารถในการฟื้นพลังและความสามารถในการกำกับอารมณ์ในวัยเด็กตอนกลาง [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต ไม่ได้ตีพิมพ์]. บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ธนาภรณ์ เนียมกลั่น. (2560). การเสริมสร้างความสามารถในการฟื้นพลังของนักเรียนระดับอาชีวศึกษาโดยใช้โปรแกรมฝึกการกำกับอารมณ์ [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต ไม่ได้ตีพิมพ์]. บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

โธมัส กวาดามูซ. (2558). การศึกษาภูมิคุ้มกันทางใจในกลุ่มนักเรียนสายอาชีพในเขต กรุงเทพมหานคร.ภาควิชาสังคมและสุขภาพ คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล.

สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2560). แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ.2560 – 2564).กรุงเทพฯ: สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ สำนักนายกรัฐมนตรี.

Arora, S., Ashrafian, H., Davis, R., Athanasiou, T., Darzi, A., and Sevdalis, N. (2010). Emotional intelligence in medicine: a systematic review through the context of the ACGME competencies. Medical Education, 44, 749-764.

Barrett, P. M., Cooper, M., & Guajardo, J. G. (2014). Using the FRIENDS Programs to Promote Resilience in Cross-Cultural Populations. New York, NY: Springer.

Benard, B. (1993). Fostering resiliency in kids. Education leadership, 59, 44-48.

Bozikas & Parlapani. (2016). Resilience in patients with psychotic disorder. Psychiatrike= Psychiatriki, 27(1),13.

Brahmawong, Chaiyong. (2013). Developmental Testing of Media and Instructional Package. Silpakorn Educational Research Journal, 5(1), 1-20.

De Costa. (2015).Reenvisioning language anxiety in the globalized classroom through a social imaginary lens. Language Learning, 65(3), 504-532.

Dubow, E. F., & Huesmann, L. R. (2016). Childhood and adolescent risk and protective factors for violence in adulthood. Journal of Criminal Justice, 45, 26–31.

Embury, S. P., & Saklofske, D. H. (2014). Building a Science of Resilience Intervention for Youth. New York, NY: Springer.

Goldstein, I.L. (1993). Training in Organization: Needs Assessment, Development, and Evaluation (3rd ed). Pacific Grove.

Grotberg, E.H. (1995). A guide for promoting resilience in child: strengthening the human spirit. The Bernard Van Leer Foundation.

Luthans, Youssef and Avolio. (2007). Psychological Capital. New York: Oxford University Press.

Mangrulkar, L. Whitman, C and Ponner, M. (2001). Life Skills Approach to Child and Adolescent Health Human Development. Washington, DC: Education Development Center, Inc.

Nelson,J. & Richard. (1992). Group Leadership: A Training Approach. California: Brook/Cole.

Pincus, D. B., & Friedman, A. G. (2004). Improving children’s coping with everyday stress: Transporting treatment interventions to the school setting. Clinical Child and Family Psychology Review, 7(4), 223-240.

Sanrattana, Wirot. (2007). Participatory Policy Research: A conceptual framework for research to change and learn. Journal of Educational Administration, 3(2), 26-40.

Stepney, C.T., White, G.W., F. Kristin, & Elias M. J., (2014). Girls Leading Outward (GLO): A School- Based Leadership Intervention to Promote Resilience for At-Risk Middle School Girls. New York, NY: Springer.

World Health Organization. (2011). Life skill Education in schools. Geneva: World Health Organization.