ทักษะผู้บริหารสถานศึกษากับการจัดการเรียนการสอนในช่วงแพร่ระบาดของ โรค COVID-19: กรณีศึกษากลุ่มการศึกษานอกระบบ และตามอัธยาศัย ในเขตจังหวัดมุกดาหาร ศรีสะเกษ และอุบลราชธานี

Main Article Content

ฐณัชญ์พร นาห่อม
ภานุมาศ จินารัตน์

บทคัดย่อ

งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาและนำเสนอแนวทางการพัฒนาทักษะบริหารที่ส่งผลต่อการจัดการเรียนการสอน ในช่วงแพร่ระบาดของโรค COVID-19 นี้ โดยผู้วิจัยนำเอาแนวคิดและทฤษฎีของนักการศึกษากับนักวิจัยมาวิเคราะห์และสกัดเอาตัวแปรสำคัญมาใช้สร้างแบบสอบถาม อันเป็นเครื่องมือวิจัยสำหรับรวบรวมข้อมูลจำนวน 74 ข้อ แล้วผู้วิจัยนำไปเก็บข้อมูลจากผู้อำนวยการ กลุ่มบริหาร ข้าราชการครูและครูอัตราจ้าง ประจำศูนย์การศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัย จำนวน 294 คน แล้วนำกลับมาวิเคราะห์ผลด้วยสถิติวิเคราะห์ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและสถิติวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณ


            ผลวิจัยพบว่า แนวทางสำหรับการพัฒนาทักษะผู้บริหารให้ส่งผลต่อการทำนายผลเกี่ยวกับการจัดการเรียนการสอนนั้น เป็นผลรวมที่เกิดจากการรวมตัวกันเข้า ระหว่างร้อยละ 71 ด้านความสามารถในการยกระดับความเป็นมืออาชีพรวมกันร้อยละ 35 ด้านความสามารถในการสร้างพื้นที่ปลอดภัยให้เกิดขึ้นภายในโรงเรียน และรอบชุมชน บวกอีกกับร้อยละ 25 ด้านการสื่อสารที่ชัดเจน และส่วนสำคัญที่สุดคือ การพัฒนาการใช้ Facebook ร่วมกันกับความยุติธรรมในสังคมกับความปลอดภัยในชีวิตนั้น มีผลต่อการจัดการเรียนการสอนได้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 โดยมีค่าสัมประสิทธิ์อิทธิพลเท่ากับ 0.20 และมีความเป็นไปได้มากถึงร้อยละ 78 ขณะที่การใช้ YouTube ร่วมกับความยุติธรรมกับความปลอดภัยในชีวิต มีผลต่อการจัดการเรียนการสอนได้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 โดยมีค่าสัมประสิทธิ์อิทธิพลเท่ากับ 0.12 และมีความเป็นไปได้มากถึงร้อยละ 82


          

Article Details

บท
Research Articles (บทความวิจัย)

References

โชษิตา ศิริมั่น. (2564). ทักษะการบริหารจัดการศึกษาของผู้บริหารในภาวะวิกฤติโควิค-19 ของสถานศึกษาในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา เขต 31,NMCCON 2021, 408-416.

ธนัชชา สู่คง และภาวิณี ศรีสุขวัฒนานนท์. (2564). กรณีศึกษาการจัดการเรียนการสอนช่วงการแพร่ระบาดของโควิค-19 และช่วงที่โควิค-19 ผ่อนคลายของศูนย์การศึกษาพิเศษประจำจังหวัดพระนครศรีอยุธยา, วารสารวิจัยและพัฒนาฉบับพิเศษ, 10(1), 93-108.

ประสพชัย พสุนนท์. (2557). ความเชื่อมั่นของแบบสอบถามในการวิจัยเชิงปริมาณ, วารสารปาริชาต มหาวิทยาลัยทักษิณ, 27(1), 144-163.

ยุทธ ไกยวรรณ. (2556). การวิเคราะห์โมเดสมการโครงสร้างด้วย Amosกรุงเทพมหานคร, ศูนย์หนังสือแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

วิทยา วาโย อภิรดี เจริญนุกูล ฉัตรสุดา กานกายนต์ และจรรยา คนใหญ่. (2563). การเรียนการสอนแบบออนไลน์ภายใต้สถานการณ์แพร่ระบาดของไวรัส Covid-19: แนวคิดและการประยุกต์ใช้จัดการเรียนการสอน, วารสารศูนย์อนามัยที่ 9, 14(32), 285-298.

วีระศักดิ์ จินารัตน์. (2564). ระเบียบวิธีวิจัยสมัยใหม่ อุบลราชธานี, ยงสงวน อินเตอร์กรุ๊ป จำกัด.

อริขา อินสุวรรณ ณัฐหรินทร์ แพทยานนท์ ฐิติพร ฐิติจำเรญพร และปนัดดา เดชวังศ์ญา. (2561) การจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ในแต่ละช่วงวัยบนพื้นฐานของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 2 และไทยแลนด์ 4.0 โมเดล, วารสารมหาวิทยาลัยพายัพ, 28(2), 21-39.

Ahammed, T., Anjum, A., Rahman, M.M., Haiden, N., Kock, R., & Uddin, J. (2020). Estimation of novel coronavirus (covid-19) reproduction number and case study fatality: a systematic review and meta-analysis,https://www.medrxiv.org/content/10.1101/2020.09.30.20204644v1.full.pdf.

Espino-Diaz, L., Fernandez-Camiero, G., & Hernandez-Lloret, R-M. (2021). Analyzing the impact of covid-19 on education professional toward a paradigm shift: ICT and Neuroeducation as a Binomial of Action, Sustainability, 12, 56-46. Duangchern, P. (2020). The new normal in educational administration after the covid-19 crisis, Journal of Arts Management, 4(3), 783-795.

Jinarat, P. (2016). Idealization of learning management for humanization development, UMT-Poly Journal, 13, 142.

Jinarat, P. (2017). Education administration for peace, UMT-Poly Journal, 14, Special Issue, 23.

Jinarat, P., Juntong, J, Punsree, K., Punsree, S., & Saentawreesuk, S. (2019). The noble eightfold implementation in non-formal and Informal education affecting student well-being, Journal of Suvarnabhuml Institute of Technology (Humanities and Social Sciences), 6(1), 102-114.

Joia, L.A., & Lorenzo, M. (2021). Zoom in,, zoom out: the impact of the covid-19 pandemic in the classroom, MDPI, 13. Karnjanapun, P. (2020). School administration in the crisis situation of the coronavirus 2019 (Covid-19), Ph.D. in Social Sciences Journal, 10(3), 545-556.

Kaul, M., VanGronigen, B.A., & Simon, N.S. (2020). Calm during crisis: school principal approaches to crisis management during the covid-19 pandemic, CPRE Policy Briefs.

Lepp, L., Avariku, T., Leijen, A., Pedaste, M., & Saks, K. (2021). Teaching during covid-19: the decision made in teaching, Educ, Sci., 11(47), 1-21.

OECD. (2020). A framework to guide an education response to the covid-19 pandemic of 2020. www.oecd.org. https://www.oecd.org/education/Japan-coronavirus-education-country-note.pdf

Orgiles, M. Espada, J.P., & Movales, A. (2020). How super skills for life may help children to cope with the covid-19: psychological impact and coping style after the program, RPCNA, 7(3), 88-93.

Pollock, K. (2020). School leaders' work during the covid-19 pandemic: a two-prong approach, ISEA, 48(3), 38-44.

United Nation. (2020). Policy brief education during Covid-19 and beyond, https://www.un.org/development/desa/dspd/wp-content/uploads/sites/22/2020/08/sg_policy_brief_covid-19_and_education_august_2020.pdf

Vijayan, R. (2021). Teaching and learning during the covid-19 pandemic: a topic modeling study, Educ. Sci, 11, 347.

Zheng, T., & Zhu, X. (2020). Comparing the effects of ออนไลน์ (Online) teaching during the covid-19 pandemic and traditional teaching in Surgical Nursing, Research Square.