การพัฒนาความสามารถในการคิดวิเคราะห์ตามแนวคิดของมาร์ซาโน วิชาวิทยาศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4

Main Article Content

ปิยะพงษ์ บัวแก้ว
สัจธรรม พรทวีกุล

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาความสามารถในการคิดวิเคราะห์ตามแนวคิดของมาร์ซาโนวิชาวิทยาศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 รูปแบบการวิจัยเป็นการวิจัยเชิงปฏิบัติการตามแนวคิดของ Kurt Lewin กลุ่มเป้าหมายคือ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนบ้านโหรา จำนวน 5 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลประกอบด้วย 1) แผนการจัดการเรียนการรู้ 2) แบบประเมินความสามารถในการคิดวิเคราะห์ตามแนวคิดของมาร์ซาโน 3) แบบบันทึกภาคสนาม ได้แก่ แบบบันทึกผลการปฏิบัติกิจกรรมของนักเรียน แบบบันทึกการสังเกตพฤติกรรมนักเรียนโดยครู แบบบันทึกหลังการสอนของครู สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย และร้อยละ


ผลการวิจัยพบว่า การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ นักเรียนมีคะแนนการประเมินความสามารถในการคิดวิเคราะห์ตามแนวคิดของมาร์ซาโนผ่านเกณฑ์ร้อยละ 80 คิดเป็นร้อยละ 100 โดยผ่านเกณฑ์การประเมินตั้งแต่วงรอบที่ 2 ซึ่งมีคะแนนอยู่ระหว่างร้อยละ 71.00-95.33 และวงรอบที่ 3 ซึ่งเป็นวงรอบวิจัยเพื่อทำการประเมินความสามารถในการคิดวิเคราะห์ ซึ่งมีคะแนนอยู่ระหว่างร้อยละ 86.67-100.00

Article Details

บท
Research Articles (บทความวิจัย)

References

กาหลง เขียวแก้ว. (2561). การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ความสามารถในการคิดวิเคราะห์และเจตคติต่อวิชาวิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 เรื่อง วัสดุรอบตัวเราที่ได้รับการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือด้วยเทคนิคการแข่งขันระหว่างกลุ่มด้วยเกม กับการจัดการเรียนรู้แบบปกติ [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต ไม่ได้ติพิมพ์]. มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี.

กระทรวงศึกษาธิการ. (2551). หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551.กระทรวงศึกษาธิการ.

กระทรวงศึกษาธิการ. (2560). ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้น พื้นฐานพุทธศักราช 2551. สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานกระทรวงศึกษาธิการ.

กุหลาบ คำศรี. (2555). ความสามารถในการคิดวิเคราะห์และเจตคติต่อการเรียนรู้ เรื่อง พลังงานแสงของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โดยใช้รูปแบบการสอนตามแนวคิดวิทยาศาสตร์เทคโนโลยี และสังคม (STS). [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต ไม่ได้ติพิมพ์]. มหาวิทยาลัยขอนแก่น.

จิรัชญา แสงยนต์. (2560). การสร้างแบบทดสอบวัดความสามารถทางการคิดวิเคราะห์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 สาระการเรียนรู้ภาษาไทยตามแนวคิด

ของมาร์ซาโน (Marzano’s taxonomy) [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต ไม่ได้ติพิมพ์]. มหาวิทยาลัยบูรพา.

ทิศนา แขมมณี. (2549). รายงานผลการวิจัยเรื่อง การนำเสนอรูปแบบเสริมสร้างทักษะการคิตขั้นสูงของนิสิตนักศึกษาครูระดับปริญญาตรีสำหรับหลักสูตรครุศึกษา. คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ประพันธ์ศิริ สุเสารัจ. (2551). การพัฒนาการคิด (พิมพ์ครั้งที่ 2). 9119 เทคนิค พริ้นติ้ง.

บุญชม ศรีสะอาด. (2545). การวิจัยเบื้องต้น (พิมพ์ครั้งที่ 7). บริษัท สุวีริยาสาสน์.

ไมซารอห์ สาสาและ. (2561). ผลการจัดการเรียนรู้ตามแนวสะเต็มศึกษาที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตร์และความสามารถในการคิดวิเคราะห์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต ไม่ได้ติพิมพ์]. มหาวิทยาลัยทักษิณ.

โรงเรียนบ้านโหรา. (2564). หลักสูตรสถานศึกษาชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนบ้านโหรา พุทธศักราช 2564 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560). สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาร้อยเอ็ด เขต 2

วรญา สร้อยทอง. (2562). โปรแกรมเพิ่มความสามารถด้านการบริหารจัดการของสมองด้วยทฤษฎีการจําแนกวัตถุประสงค์ ทางการศึกษาของมาร์ซาโนในเด็กนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 [วิทยานิพนธ์ปริญญาดุษฎีบัณฑิต ไม่ได้ติพิมพ์]. มหาวิทยาลัยบูรพา.

วรรณดี สุทธินรากร. (2562). การวิจัยเชิงปฏิบัติการ (พิมพ์ครั้งที่ 3). บริษัท สยามปริทัศน์.

วีระ สุดสังข์. (2550). การคิดวิเคราะห์ คิดอย่างมีวิจารณญาณและคิดสร้างสรรค์. สุวีริยาสาสน์.

ศศิภรณ์ ฤทธิ์ศักดิ์. (2562). ผลการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค STAD ร่วมกับการใช้ผังกราฟิกที่มีผล ต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ และความสามารถในการคิดวิเคราะห์ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนชุมชนไมตรีอุทิศจังหวัดนนทบุรี [วิทยานิพนธ์ ปริญญามหาบัณฑิต ไม่ได้ติพิมพ์]. มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.

สถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ (องค์การมหาชน). (2563). รายงานผลการทดสอบ O-Net ระดับ ประถมศึกษาปีที่ 6. สถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ. https://www.niets.or.th/th/.

สมบัติ ท้ายเรือดำ. (2553). ระเบียบวิธีวิจัยสำหรับมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ (พิมพ์ครั้งที่ 4). คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.

สำนักข่าว EDUNEWSSIAM ONLINE. (2563, 22 เมษายน). เปิดผลวิจัย! ทำไมเด็กไทยที่คะแนนสอบดี...แต่มีทักษะการคิดวิเคราะห์ และจิตสาธารณะน้อย!!. https://www.edunewssiam.com /th/articles/199457

สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. (2551). หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว.

สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. (2560). ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)

ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้น พื้นฐาน พุทธศักราช 2551. สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานกระทรวงศึกษาธิการ.

สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ (2565, 24 เมษายน). บทนำ. สืบค้นข้อมูลวันที่ 24 เมษายน 2565, จาก: https://cbethailand.com

สุดารัตน์ อะหลีแอ. (2558). ผลของการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี สังคม และสิ่งแวดล้อมที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเคมี ความสามารถในการแก้ปัญหา และความพึงพอใจต่อการจัดการเรียนรู้ของนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต ไม่ได้ติพิมพ์]. มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์.

สุทธิสม ดังก้อง. ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านโหรา. สัมภาษณ์. วันที่ 26 มกราคม 2565.

สุวิทย์ มูลคำ. (2550). กลยุทธ์การสอนคิดวิเคราะห์. (พิมพ์ครั้งที่ 2). ภาพพิมพ์.

โสภิดา มะลิซ้อน. (2562). การพัฒนาความสามารถการคิดวิเคราะห์โดยใช้แนวคิดของมาร์ซาโน (Marzano) วิชาประวัติศาสตร์ไทย ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 [วิทยานิพนธ์ปริญญา มหาบัณฑิต ไม่ได้ติพิมพ์]. มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์.

อัฐวจี ปิ่นแก้ว. (2562). การพัฒนาชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์แบบสืบเสาะหาความรู้ 7 ขั้นตอน เรื่อง ชีวิตสัมพันธ์ เพื่อส่งเสริมความสามารถในการคิดวิเคราะห์และเจคคติทางวิทยาศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต ไม่ได้ติพิมพ์]. มหาวิทยาลัยนเรศวร.

Marzano, R. J. (2001). Designing a New Taxonomy of Education Objective. Corwin Press.