ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อมูลค่าการส่งออกข้าวในตลาดประเทศจีน

Main Article Content

ทัดพงศ์ อวิโรธนานนนท์

บทคัดย่อ

การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีผลกระทบต่อมูลค่าการส่งออกข้าวในตลาดประเทศจีน โดยปัจจัยที่ใช้ในการศึกษาประกอบด้วย ดัชนีผู้บริโภค อุณหภูมิ ปริมาณน้ำฝน อัตราแลกเปลี่ยน และมูลค่าการส่งออกยางพาราในตลาดประเทศจีน ซึ่งทำการศึกษาข้อมูลรายเดือนตั้งแต่เดือนมกราคม พ.ศ. 2551 ถึงเดือนกันยายน พ.ศ. 2562 เพื่อสามารถคาดการณ์มูลค่าของการส่งออกข้าวในตลาดของประเทศจีนที่จะเกิดขึ้น เพื่อเป็นการวางแผน หาทางออก แก้ไขและป้องกันเพื่อการสร้างประโยชน์แก่ผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับการส่งออกข้าวให้สามารถสร้างรายได้เพิ่มขึ้นจากเดิม จากการวิเคราะห์ความถดถอยเชิงพหุคูณ พบว่า ดัชนีผู้บริโภค และมูลค่าการส่งออกยางพาราในตลาดประเทศจีน มีผลกระทบต่อมูลค่าการส่งออกข้าวในตลาดประเทศจีนอย่างมีระดับนัยสำคัญทางสถิติ ณ ระดับความเชื่อมั่นที่ร้อยละ 95 ส่วนปริมาณน้ำฝน อุณหภูมิและอัตราแลกเปลี่ยนไม่มีผลกระทบต่อมูลค่าการส่งออกข้าวในตลาดประเทศจีน

Article Details

How to Cite
อวิโรธนานนนท์ ท. (2020). ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อมูลค่าการส่งออกข้าวในตลาดประเทศจีน. วารสารบริหารธุรกิจและศิลปศาสตร์ ราชมงคลล้านนา, 8(2), 1–12. สืบค้น จาก https://so05.tci-thaijo.org/index.php/balajhss/article/view/248027
บท
บทความวิจัย

References

กรมการข้าว ศูนย์เมล็ดพันธุ์ข้าวขอนแก่น. (2562). ปัจจัยที่มีผลต่อการเจริญเติบโตของข้าว. สืบค้น 20 พฤศจิกายน 2562, จาก http://kknrsc.ricethailand.go.th/index.php/e-library/field/565-rice-growth-factor.

กรมอุตุนิยมวิทยา. (2562). สถิติปริมาณน้ำฝนและอุณหภูมิ ปี 2551-2562. สืบค้น 20 พฤศจิกายน 2562, จาก https://www.tmd.go.th/index.php.

การค้าไทย. (2562). มูลค่าการส่งออกสินค้าเกษตรย้อนหลังและอันดับสินค้าเกษตรที่ส่งออกมากที่สุด 10 อันดับปี 2561 ถึง ปี 2562. สืบค้น 20 พฤศจิกายน 2562, จาก http://tradereport.moc.go.th/DashBoard/Default.aspx

การค้าไทย. (2562). สถิติส่งออกข้าวในตลาดประเทศจีนของไทยปี 2551-2562. สืบค้น 20 พฤศจิกายน 2562, จาก http://www.ops3.moc.go.th

ธนาคารแห่งประเทศไทย. (2561). รายงานสินค้าเกษตรที่สำคัญของไทยไตรมาสที่ 2/2561. สืบค้น 20 กุมภาพันธ์ 2562, จาก https://www.bot.or.th/Thai/MonetaryPolicy/Northern/Commodities/North_Agri_2/Q2_61_CommodityReport.pdf

ธนาคารแห่งประเทศไทย. (2562). รายงานนโยบายการเงิน. สืบค้น 20 พฤศจิกายน 2562, จาก https://www.bot.or.th/Thai/MonetaryPolicy/MonetPolicyComittee/MPR/DocLib/MPRThai_June2562_63ito87.pdf

พิมพกานต์ พุทธศิริ. (2560). ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อราคาข้าวเปลือกหอมมะลิในประเทศไทย(การค้นคว้าอิสระ บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต). กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยกรุงเทพ.

มติชนออนไลน์. (2562). ไทยติด Top 10 ผู้ส่งออกสินค้าเกษตรโลก. สืบค้น 20 พฤศจิกายน 2562, จาก https://www.matichon.co.th/newsmonitor/news_1689529

รุ่งทิวา ไพรบึง. (2561). การศึกษาปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อราคาข้าวหอมมะลิ. วารสารวิชาการวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม, 28(4), 1-5.

ศูนย์ข้อมูลเพื่อธุรกิจไทยในจีน. (2557). ปัญหาอุปสรรคในการส่งออก. สืบค้น 20 พฤศจิกายน 2562, จาก https://thaibizchina.com

สมาคมผู้ส่งออกข้าวไทย. (2562). สถิติปริมาณการส่งออกและผลิตข้าวทั่วโลก, สืบค้น 20 พฤศจิกายน 2562, จาก http://www.thairiceexporters.or.th/Framesetinformation.htm

สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร กระทรวงเกษตรเละสหกรณ์. (2562). รายงานภาวะเศรษฐกิจการเกษตรไตรมาส 3 ปี 2562 และแนวโน้มปี 2562. สืบค้น 20 พฤศจิกายน 2562, จาก http://www.oae.go.th/assets/portals/1/fileups/bappdata/files/Outlook2562/Outlook%20Q3_2562.pdf

สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร กระทรวงเกษตรเละสหกรณ์. (2562). สถิติเนื้อที่ใช้ประโยชน์ทางการเกษตรของประเทศไทย. สืบค้น 20 พฤศจิกายน 2562, จาก http://mis-app.oae.go.th/

สิทธิพร ประวัติรุ่งเรือง และ สมยศ อวเกียรติ. (2558). สถานการณ์และปัจจัยที่มีอิทธิผลต่อการส่งออกยางพาราไทยไปยังตลาดสาธารณรัฐประชาชนจีน. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชพฤกษ์, 1(1), 91-99.

อดุลย์ โชตินิสากรณ์. (2562). ความสามารถในการส่งออกข้าว. สืบค้น 20 พฤศจิกายน 2562, จาก https://www.posttoday.com/economy/news/576365

อรมน ทรัพย์ทวีธรรม. (2562). กรมเจรจาฯ ปลื้ม เอฟทีเอทำสินค้าเกษตรเข้มแข็ง ด้นไทยขยับติด Top 10 ผู้ส่งออกโลก. สืบค้น 20 พฤศจิกายน 2562, จาก https://uat-web.dtn.go.th/th/news/categories/5cff753c1ac9ee073b7bd1c5?p=4&type=

อรรถพงษ์ ลลิตาศรม. (2551). การศึกษาปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่อปริมาณการส่งออกข้าวของประเทศไทยระหว่างปี พ.ศ. 2535 – พ.ศ. 2550(การศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต). กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย.

Cooray, A. (2002). Interest rates and inflationary expectations: Evidence on the fisher effect in Sri Lanka. South Asia Economic Journal, 3(2), 201-216.

Dickey, D. A. & Fuller, W. A. (1979). Distribution of the estimators for autoregressive time series with a unit root. Journal of the American Statistical Association, 74(366), 427–431.

Durbin, J. & Watson, G. S. (1950). Testing for serial correlation in least squares regression, I. Biometrika, 37(3/4), 409–428.

Durbin, J. & Watson, G. S. (1951). Testing for serial correlation in least squares regression, II. Biometrika, 38(1/2), 159–179.

Enders, W. (2010). Applied Econometric Time Series. 3rd ed. New York: John Wiley & Sons.

Granger, C. W. J. & Newbold, P. (1974). Spurious regressions in econometrics. Journal of Econometrics, 2(2), 111–120.

Gujarati, D. N. (2004). Basic Econometrics, 4th ed. New York: McGraw-Hill.

Hair, F., Black, W., Babin, B. & Anderson, R. (2010). Multivariate Data Analysis. 7th Ed. New Jersey: Pearson Education.

Schwarz, G. (1978). Estimating the dimension of a model. Annals of Statistics, 6(2), 461-464.

Taylor, A. M. & Taylor, M. P. (2004). The purchasing power parity debate. Journal of Economic Perspectives, 18(4), 135–158.

White, H. (1980). A heteroskedasticity-consistent covariance matrix estimator and a direct test for heteroskedasticity. Econometrica, 48(4), 817-838.

Workpointnews. (2562). ข้าวหอมมะลิไทยเสียแชมป์ข้าวที่ดีที่สุดในโลก 2 ปีซ้อน. สืบค้น 20 พฤศจิกายน 2562, จาก https://workpointnews.com/2019/11/16/0233/