ส่วนประสมทางการตลาด ความไว้วางใจ การรับรู้ความเสี่ยง และความน่าเชื่อถือของ ผู้นำเสนอสินค้าออนไลน์ผ่านการถ่ายทอดสดที่มีผลต่อความตั้งใจซื้อของผู้สูงอายุ ในจังหวัดลำปาง

Main Article Content

ภิญญาพัชญ์ ใจตา
นภาวรรณ เนตรประดิษฐ์

บทคัดย่อ

การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) ระดับความสำคัญของปัจจัยส่วนประสมทางการตลาด ความไว้วางใจ การรับรู้ความเสี่ยง ความน่าเชื่อถือของผู้นำเสนอสินค้าออนไลน์ผ่านการถ่ายทอดสด และความตั้งใจซื้อของผู้สูงอายุในจังหวัดลำปาง และ (2) ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยดังกล่าวที่มีผลต่อความตั้งใจซื้อของผู้สูงอายุ ผลการวิจัยพบว่า ผู้สูงอายุในจังหวัดลำปางให้ความสำคัญกับปัจจัยทุกด้าน โดยเฉพาะส่วนประสมทางการตลาด ซึ่งมีค่าเฉลี่ย 4.22 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 0.502 และมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 รองลงมาคือ ความไว้วางใจ (ค่าเฉลี่ย 4.16, ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 0.442) และความน่าเชื่อถือของผู้นำเสนอ (ค่าเฉลี่ย 4.16, ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 0.480) ทั้งสองปัจจัยมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.001 ความตั้งใจซื้อของผู้สูงอายุอยู่ในระดับสูง (ค่าเฉลี่ย 4.03, ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 0.456) ปัจจัยทั้งหมดมีผลต่อความตั้งใจซื้ออย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ผลการวิจัยชี้ให้เห็นว่า การวางแผนกลยุทธ์การตลาดควรมุ่งเน้นการสร้างความเชื่อมั่นในการซื้อสินค้าออนไลน์ ส่งเสริมภาพลักษณ์ที่ดีให้แก่ผู้นำเสนอสินค้าออนไลน์ และพัฒนาช่องทางการถ่ายทอดสดให้ตอบโจทย์ความต้องการของผู้สูงอายุ โดยเฉพาะการส่งสินค้าตรงตาม
คำสั่งซื้อ การรักษาข้อมูลส่วนบุคคล และการแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นอย่างรวดเร็ว นอกจากนี้ ควรมีมาตรการเพื่อลดความเสี่ยง เช่น การตรวจสอบคำสั่งซื้ออย่างละเอียด การจัดเตรียมช่องทางชำระเงินที่ปลอดภัย การรับประกันสินค้า และการเลือกบริษัทขนส่งที่เชื่อถือได้ เพื่อเสริมสร้างความไว้วางใจและภาพลักษณ์ที่ดี แนวโน้มการซื้อสินค้าผ่านการถ่ายทอดสดที่เพิ่มสูงขึ้นยังแสดงให้เห็นถึงความสำคัญของการพัฒนาทักษะ การสื่อสารของผู้นำเสนอ ซึ่งสามารถส่งผลต่อทัศนคติและพฤติกรรมของผู้สูงอายุ

Article Details

How to Cite
ใจตา ภ., & เนตรประดิษฐ์ น. (2024). ส่วนประสมทางการตลาด ความไว้วางใจ การรับรู้ความเสี่ยง และความน่าเชื่อถือของ ผู้นำเสนอสินค้าออนไลน์ผ่านการถ่ายทอดสดที่มีผลต่อความตั้งใจซื้อของผู้สูงอายุ ในจังหวัดลำปาง. วารสารบริหารธุรกิจและศิลปศาสตร์ ราชมงคลล้านนา, 12(2), 101–118. สืบค้น จาก https://so05.tci-thaijo.org/index.php/balajhss/article/view/272974
บท
บทความวิจัย

References

กรุงเทพธุรกิจ. (2564). นิวนอร์มอลผู้สูงอายุหลังโควิด-19 โอกาสทองสินค้า-บริการ. จาก https://www.bangkokbiznews.com/business/928570

กัญญาวีร์ จารุศรีวรรณา. (2563). อิทธิพลของคุณลักษณะโฆษณาออนไลน์ที่มีต่อกระบวนการซื้อตามแบบจำลองไอด้าในช่องทางอินสตาแกรม. (ค้นคว้าอิสระปริญญามหาบัณฑิต). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

ชลธิดา แย้มกลีบบัว. (2565). อิทธิพลการยอมรับเทคโนโลยีและความไว้วางใจของผู้ใช้บริการ ที่ส่งผลต่อความตั้งใจซื้อสินค้าผ่านทางระบบพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ (E-commerce) Lazada. (สารนิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). นครปฐม: มหาวิทยาลัยมหิดล.

เดอะสแตนดาร์ด เวลท์. (2566). ‘คนแก่ ไม่เท่ากับ คนแก่’ สิ่งที่แบรนด์ต้องตีโจทย์ให้แตกเพื่อจับตลาดกลุ่มผู้บริโภคสูงวัยในไทยที่มีกว่า 23 ล้านคน.จาก https://thestan dard.co/aged-society-market-brand -strategy/

ทัศน์มน ลาภธนัญชัยวงศ์. (2561). การเปรียบ เทียบปัจจัยที่มีผลต่อความตั้งใจใช้ระบบการชำระเงินผ่านแอพพลิเคชั่นแรบบิตไลน์เพย์ และทรูมันนี่วอลเล็ทของผู้ใช้งานกลุ่มเจเนอเรชั่นเอ็กซ์ในเขตกรุงเทพมหานคร. (ค้นคว้าอิสระปริญญามหาบัณฑิต). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัย ธรรมศาสตร์.

ไทยรัฐออนไลน์. (2566). 10 อันดับกิจกรรม และพฤติกรรมการใช้อินเทอร์เน็ตของคนไทย 2566. จาก https://www.thairath.co.th/ lifestyle/life/2722450

ธีรเมธ ศีตมโนชญ์ และสุรสิทธิ์ อุดมธนวงศ์. (2566). ความสัมพันธ์ของการรับรู้ความเสี่ยงและส่วนประสมทางการตลาดกับความตั้งใจซื้อรถยนต์มือสองแบรนด์ญี่ปุ่น. วารสารการบริหารจัดการและนวัตกรรมท้องถิ่น, 5(5), 222-134.

บัณฑิตา ศิริพันธ์. (2560). แฟชั่นผู้สูงอายุตอบโจทย์ไลฟ์สไตล์ ได้กำไรงาม. อุตสาหกรรมสาร, 59(3), 33-34.

ปาณทิพย์ เปลี่ยนโมฬี. (2560). โอกาสของสังคมผู้สูงวัย. อุตสาหกรรมสาร, 59(3), 4.

พนม คลี่ฉายา. (2564). การใช้เทคโนโลยีดิจิทัลของผู้สูงอายุและข้อเสนอเพื่อการเสริมสร้างภาวะพฤฒพลังและผลิตภาพของผู้สูงอายุไทย. จาก https://thaitgri. org/?p=39594

มนสินี นารีโภชน์. (2563). การเปิดรับชมโฆษณาในรายการโทรทัศน์การรับรู้ความน่าเชื่อถือของผู้นำเสนอโฆษณา และความตั้งใจซื้อผลิตภัณฑ์เสริมอาหารประเภทคอลลาเจน ตราอมาโด้ของผู้บริโภค. (ค้นคว้าอิสระปริญญา มหาบัณฑิต). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

สภาองค์กรของผู้บริโภค. (2565). ผู้สูงวัยถูกหลอกบนเฟซบุ๊กกว่า 44%. จาก https://www. tcc.or.th/oldies/

สริตา ชาญเจริญลาภ. (2563). การรับรู้ความเสี่ยงและอิทธิพลส่งผ่านทัศนคติที่ส่งผลต่อความตั้งใจในการสั่งซื้ออาหารเพื่อสุขภาพออนไลน์ของคนไทย. (ค้นคว้าอิสระปริญญามหาบัณฑิต). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

สำนักงานจังหวัดลำปาง. (2566). บรรยายสรุปจังหวัดลำปาง เดือนตุลาคม 2566, จาก https://www.lampang.go.th/db_lap/brief/b_lampang_02112566.pdf

สำนักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัดลำปาง. (2565). รายงานสถานการณ์ ทางสังคมจังหวัดลำปาง 2566. จาก https://drive.usercontent. google.com/download?id=1Ri5OjvgH2qcW0UIEEcQsZKJWwqFeicFC&export=download

สำนักงานสถิติแห่งชาติ. (2566). ผู้สูงอายุในยุคดิจิทัล, จาก https://www.nso.go.th/ nsoweb/storage/infomotion/2023/20230817105256_33866.pdf

สุดาพร กุณฑลบุตร. (2557). หลักการตลาดสมัยใหม่. (พิมพ์ครั้งที่ 6). กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

อริยา เรืองประเทศ. (2564). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความตั้งใจซื้อสินค้าอุปโภคบริโภคที่เคลื่อน ไหวเร็ว (FMCG) ผ่านช่องทาง E-commerce ของวัยทำงาน กรณีศึกษา Shopee. (สารนิพนธ์ ปริญญามหาบัณฑิต). นครปฐม: หาวิทยาลัยมหิดล.

อัญชลี สุระดม. (2566). คุณลักษณะของอินฟลูเอนเซอร์และการรับรู้ความเสี่ยงมีผลต่อความตั้งใจซื้อสินค้าผ่านการไลฟ์สดบนแพลตฟอร์ม TikTok. วารสารบัญชีปริทัศน์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย, 9(1), 177-193.

Cochran, W.G. (1963). Sampling TechniQue. second edition. New York: John Wiley & Sons.

Friedman, H. H., & Friedman, L. (1979). Endorser effectiveness by product type. Journal of Advertising Research, 19(5), 63–71.

Hashmi, M. A., & Guvenli, T. (2001). Multimedia Content on the Web: Problems and Prospects. Available from ProQuest ABI/INFORM Collection database. (ProQuest document ID: 212678464)

Lassoued, R., & Hobbs, J.E. (2015). Consumer confidence in credence attributes: The role of brand trust. Food Policy, 52(1), 99-107.

Lix, A. (2019). 4 Steps To Implement Live Streaming In Your Video Marketing Strategy. From https://digitalagen cynetwork.com/4-steps-to-implement-live-streaming-in-your-video-marketing-strategy/

Miyazaki, A. D. & Fernandez, A. (2001). Consumer Perceptions of Privacy and Security Risks for Online Shopping. The Journal of Consumer Affairs, 35(1), 27-44.

Moorman, Deshpande, & Zaltman. (1993). Factors affecting trust in market research relationships. Journal of Marketing, 57(1), 81-101.

Mowen, J. O., & Minor, M. I. (2009). Consumer behavior, internal and external factors. Translated by Abbas Saleh Ardestani and Mohammad Reza Saadi, Tehran: Etehade Jahane No Publishing.

Nunnally, J. C. (1978). Psychometric Theory. New York: McGraw-Hill Book Company.

Ohanian, R. (1990). Construction and validation of a scale to measure celebrity endorser’s perceived expertise, trustworthiness, and attractiveness. Journal of Advertising, 19(3), 39-52.

Kline, R. B. (2005). Principle and Practice of Structural Equation Modelling. (2nd edition). New York: The Guildford Press.

Kothandapani, V. (1971). A phychological approach to the prediction of contraception behavior. North Carolina: Popilation Center.

Kotler, P. (1997). Marketing Management: analysis, planning, implementation and control. (5th ed.). Englewood Cliffs, NJ: Prentice Hall.

Positioning. (2562). จับตา “เศรษฐกิจสูงวัย” อำนาจเปลี่ยนขั้วจากมิลเลนเนียมสู่ผู้สูงอายุ ภายในปี 2050. จาก https:// positioningmag.com/1250572

Ramamental. (2561). อยู่อย่างไรให้เป็นสุขในวัยสูงอายุ. จาก https://www.rama. mahidol.ac.th/ramamental/generalknowledge/general/06162014-1444

Rovinelli, R. J., & Hambleton, R. K. (1976). On the use of content specialists in the assessment of criterion-referenced test item validity. Dutch Journal of Educational Research.

Salam Lyer & Palvia (2005). Trust in e-commerce. Communication of ACM, 48(2), 72-77.

Zeithaml, V. A., Parasuraman, & L. L., Berry. (1990). Delivering Quality Service: Balancing Customer Perceptions. New York: The Free Press.