การถอดบทเรียนการยกระดับศักยภาพการท่องเที่ยวโดยชุมชนเชิงสร้างสรรค์บนฐานอัตลักษณ์ท้องถิ่น
Main Article Content
บทคัดย่อ
การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ถอดบทเรียนการยกระดับศักยภาพการท่องเที่ยวโดยชุมชนเชิงสร้างสรรค์บนฐานอัตลักษณ์ท้องถิ่น และ 2) วิเคราะห์ปัจจัยในการยกระดับศักยภาพการท่องเที่ยวโดยชุมชนเชิงสร้างสรรค์บนฐานอัตลักษณ์ท้องถิ่น งานวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพโดยมุ่งถอดบทเรียนชุมชน แบบมีส่วนร่วม จาก 20 ชุมชนต้นแบบที่จัดการท่องเที่ยวโดยชุมชน โดยรวบรวมและวิเคราะห์เนื้อหาจากแบบเก็บข้อมูลเบื้องต้น จัดประชุมกลุ่มย่อยผู้มีส่วนเกี่ยวข้องในพื้นที่ และสังเคราะห์ข้อมูลการยกระดับศักยภาพการท่องเที่ยวโดยชุมชนเชิงสร้างสรรค์บนฐานอัตลักษณ์ท้องถิ่นโดยมีผลการศึกษาคือ การยกระดับศักยภาพการท่องเที่ยวโดยชุมชนเชิงสร้างสรรค์บนฐานอัตลักษณ์ท้องถิ่น 4 ศักยภาพ ได้แก่ 1) ศักยภาพด้านอัตลักษณ์ชุมชน 2) ศักยภาพด้านการมีส่วนร่วมของคนในชุมชน 3) ศักยภาพด้านการบูรณาการหน่วยงานภาคีเครือข่าย และ 4) ศักยภาพด้านการพัฒนาการท่่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์ และปัจจัยในการหนุนเสริมยกระดับศักยภาพการท่องเที่ยวโดยชุมชน 8 ปัจจัย ประกอบด้วย 1) อัตลักษณ์และภูมิปัญญาของชุมชน 2) การมีส่วนร่วมของชุมชน 3) ผู้นำชุมชน 4) มีนักท่องเที่ยวจริง 5) การกระจายรายได้จากการท่องเที่ยวอย่างเป็นธรรม 6) การหนุนเสริมเชิงวิชาการ 7) หน่วยงานภาคีเครือข่าย และ 8) การพัฒนาต่อยอดการท่องเที่ยวโดยชุมชน
Article Details
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
“ข้าพเจ้าและผู้เขียนร่วม (ถ้ามี) ขอรับรองว่า บทความที่เสนอมานี้ยังไม่เคยได้รับการตีพิมพ์และไม่ได้อยู่ระหว่างกระบวนการพิจารณาลงตีพิมพ์ในวารสารหรือแหล่งเผยแพร่อื่นใด ข้าพเจ้าและผู้เขียนร่วมยอมรับหลักเกณฑ์การพิจารณาต้นฉบับ ทั้งยินยอมให้กองบรรณาธิการมีสิทธิ์พิจารณาและตรวจแก้ต้นฉบับได้ตามที่เห็นสมควร พร้อมนี้ขอมอบลิขสิทธิ์บทความที่ได้รับการตีพิมพ์ให้แก่สถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์หากมีการฟ้องร้องเรื่องการละเมิดลิขสิทธิ์เกี่ยวกับภาพ กราฟ ข้อความส่วนใดส่วนหนึ่งและ/หรือข้อคิดเห็นที่ปรากฏในบทความข้าพเจ้าและผู้เขียนร่วมยินยอมรับผิดชอบแต่เพียงฝ่ายเดียว”
References
Intanupat, N. (2020). The potential of Lam Phok Community in managing community-base tourism of the Lam Phok Surin Province. Journal of Man and Society, 39(2), 61-73.
Jitsuchon, S. (2020, 28 May). “Who are affected by COVID-19”: TDRI policy series on fighting COVID-19. https://tdri.or.th/2020/05/who-are-affected-by-covid-19/ [in Thai]
Kamnedsin, K. (2020). A study of strong community management of Bang Nam Phueng community model. Journal of Humanities and Social Sciences Bansomdejchaopraya Rajabhat University, 14(1), 199-234. [in Thai]
Luangchanduang, L., Kangwong, S., & Nantasan, W. (2018). The potential of role-model communities in sustainable and creative tourism. Electronic Journal of Open and Distance Innovative Learning (e-JODIL), 8(2), 52-83. [in Thai]
Maneeroj, N. (2017). Community based tourism management. Journal of International and Thai Tourism, 13(2), 25-46. [in Thai]
Prasertsri, T., Peatrat, N., Seniwong Na Ayudhaya, S., & Ritronasak, S. (2021). The study of distilled from community-based tourism management to developing community tourism prototype: A case study of Ban Poo Ter Community. Journal of Social Science and Buddhistic Anthropology, 6(6), 94-108. [in Thai]
Royal Thai Government. (2020, February 17). Prime minister pushes BCG economic model as a policy to drive Thailand to increase GDP by 1 trillion baht in 6 years. https://www.thaigov.go.th/news/contents/details/38369 [in Thai]
Richards, G. (2010). Creative tourism and local development. In R. Urzburger (Ed)., Creative Tourism: A Global Conversation: How to Provide Unique Creative Experiences for Travelers Worldwide (pp. 78-90). Sunstone Press.
Sarobon, S. (2006). Community based tourism: Principle and experience. Thailand Research Fund. Sawangjit, W. (2020). Rajabhat university network: Research for community. Research & Innovation Society Organization Journal, 2(1), 59-66. [in Thai]
Singsaktrakul, P., & Sermkarndee, P. (2020). The study of potentiality and conservation tourism development approach of Baan Thung-Maprang, Kuan Doan District and Baan Ton-Panan, Kuan Kalong District in Satun Province. Suthiparithat (Journal of Business and Innovation: SJBI), 27(83), 97-112. [in Thai]
Suansri, P. (2003). Community-based tourism handbook. Tourism for Life and Nature Project.
Thongpaen, R. (2019). Prototype of community tourism management pattern in Lampang Province. Faculty of Humanities and Social Science Review, 7(2), 46-57.
The official Website of Tourism Authority of Thailand. (2021, October 15). Tourism Authority of Thailand’s (TAT) corporate plan 2021-2022 review. https://www.tat.or.th/th/about-tat/market-plan [in Thai]
Wanwiset, S., & Agmapisam, C. (2017). Key success factors of the process for people participation in DASTA community-based tourism model a case study of Tambon Namchieo, Trat Province. Thammasat Journal, 36(1), 66-95. [in Thai]
Wisudtilux, S. (n.d.). Creative tourism Thailand designated areas for sustainable tourism administration. https://socanth.tu.ac.th/wp-content/uploads/2017/08/suddan-2558.pdf [in Thai]