ปัจจัยเหตุที่มีอิทธิพลต่อการรับรู้ความสามารถทางการแข่งขันของจุดหมายปลายทางการท่องเที่ยวเพื่อเป็นรางวัลของกลุ่มนักท่องเที่ยวบริษัทชาวมาเลเซียสู่กลุ่มจังหวัดอันดามัน

Main Article Content

เชิดชัย กลิ่นธงชัย
พัทรียา หลักเพ็ชร

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยเหตุที่มีอิทธิพลต่อการรับรู้ความสามารถทางการแข่งขันของจุดหมายปลายทางการท่องเที่ยวเพื่อเป็นรางวัลของกลุ่มนักท่องเที่ยวกลุ่มบริษัทชาวมาเลเซียสู่กลุ่มจังหวัดอันดามัน เพื่อสำรวจปัจจัยอรรถประโยชน์ด้านการตลาดและการกำหนดรูปแบบกิจกรรมที่มีอิทธิพลต่อการรับรู้ทางการแข่งขันทางการท่องเที่ยว โดยใช้ระเบียบวิธีวิจัยเชิงปริมาณโดยใช้เครื่องมือวิจัยคือ แบบสอบถาม เก็บจากนักท่องเที่ยวกลุ่มบริษัทชาวมาเลเซียที่เข้ามาท่องเที่ยวในกลุ่มจังหวัดอันดามันจำนวน 350 คนและวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้การวิเคราะห์สมการเชิงโครงสร้าง ผลการวิจัยพบว่า ผลการวิจัยพบว่า การกำหนดรูปแบบกิจกรรมและอรรถประโยชน์ทางด้านการตลาดและรูปแบบกิจกรรมมีความสัมพันธ์ทางตรงเชิงบวกต่อการการรับรู้ความสามารถทางการ แข่งขันของจุดหมายปลายทางการท่องเที่ยว เพื่อเป็นรางวัลของกลุ่มนักท่องเที่ยวกลุ่มบริษัทชาวมาเลเซีย โมเดลความสัมพันธ์เชิงสาเหตุที่พัฒนาขึ้นจากงานวิจัยจึงมีความเหมาะสม เนื่องจากปัจจัยทั้งสองด้านมีความสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์ และแต่ละองค์ประกอบโมเดลของมีความเที่ยงตรง ยอมรับได้สามารถนำไปพยากรณ์การรับรู้ทางการแข่งขันของจุดหมายปลายทางได้ในระดับดี

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

กรมการท่องเที่ยว. (2554). แผนพัฒนาการท่องเที่ยวแห่งชาติ. [Online]. www.mots.go.th. [2557,กันยายน 03]

พิจาริณี โล่ชัยกูล. (2545). การประเมินศักยภาพการแข่งขันของอุตสาหกรรม การประชุม การท่องเที่ยวเพื่อเป็นรางวัลและ การแสดงสินค้า นิทรรศการนานาชาติของไทย . (วิทยานิพนธ์ปริญญาเศรษฐศาสตร์ธุรกิจมหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

สำนักงานส่งเสริมการจัดประชุมและนิทรรศการ. (2555). สถิติ MICE 2554. [Online]. www.tceb.or.th/.../MICE-Industry-Statistics-2003-2011-Analysis.pdf [2555, พฤศจิกายน 08]

Byrne, Barbara M. (2001). Structural equation modeling with AMOS: basic concepts, applications, and programming. Hahwah, New Jersey: Lawrence Erlbaum Associates.

Chengcheng, J. (2011). Design of Incentive and Supervisory Mechanism in Tour Service Supply Chain.International Conference on Business Management and Electronic Information, 3, 804-807.

Comrey, Andrew L, & Lee, Howard B. (1992). A first course in factor analysis.USA.: Better World Books

Crouch, Geoffrey I., and J.R. Brent Ritchie (1999). "Tourism, Competitiveness and Societal Prosperity." Journal of Business Research, 44 (3): 137-52.

Hair, J. F. Jr., Anderson, R. E., Tatham, R. L, & Black, W. C. (1998).Multivariate data analysis. 7thed. New Jersey: Prentice-Hall International, Inc.

Hair, J. F., Anderson, R. E., Tatham, R. L., & Black,W.C. (2010).Multivariate Data Analysis.7th ed.New Jersey: Prentice Hall.

Incentive Research Foundation, (2008). The market for incentive travel, motivational meetings, and special events. New York: The Incentive Research Foundation.

Ninemeir, J. D. and Perdue, J. (2008). Discovering Hospitality and Tourism: The World’s Greatest Industry. 2nded. New Jersey: Pearson Prentice Hall.

Purdue, J., Ninemeier, J. D., and Woods, R. H. (2002). Comparison of Present and Future Competencies required for Club Managers. International Journal of Comtemporary Hospitality Management, 14(3), 142-146.

Shinew, K. J., &Backman, S. J. (1995). Incentive Travel: an attractive option. Tourism Management, 16(4), 285-293.

Stolovitch, H. (2002). Incentives, motivation and workplace performance. Research and best practice. New York: SITE Foundation.

UNWTO. (2012).Tourism Hightlights. World Tourism Organization.Retrieved July 25, 2013 from http://www.worldbank.org/en/country/malaysia/overview.