บุพปัจจัยของความภักดีของผู้รับบริการต่อโรงพยาบาลเอกชนในเขตกรุงเทพมหานคร

Main Article Content

อรณัฏฐ์ นครศรี

บทคัดย่อ

              การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาอิทธิพลของคุณลักษณะส่วนบุคคล คุณภาพบริการ ภาพลักษณ์ของโรงพยาบาลเอกชน และคุณภาพความสัมพันธ์ ที่มีต่อความภักดีของผู้รับบริการโรงพยาบาลเอกชนในเขตกรุงเทพมหานคร ด้วยระเบียบวิธีวิจัยเชิงปริมาณ โดยใช้แบบสอบถามในการเก็บข้อมูลจากผู้รับบริการโรงพยาบาลเอกชนในเขตกรุงเทพมหานคร จำนวน 675 ราย วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้เทคนิคการวิเคราะห์สมการโครงสร้าง (SEM) ด้วยโปรแกรมสำเร็จรูปลิสเรล (LISREL)


            จากการวิจัยพบว่าคุณลักษณะส่วนบุคคล คุณภาพบริการ ภาพลักษณ์ของโรงพยาบาลเอกชน เป็นปัจจัยที่ส่งผลทั้งทางตรงและทางอ้อม ต่อความภักดีของผู้รับบริการโรงพยาบาลเอกชนในเขตกรุงเทพมหานคร ยกเว้นคุณภาพความสัมพันธ์ที่ส่งผลทางตรงเท่านั้น ดังนั้นผู้บริหารโรงพยาบาลเอกชนในเขตกรุงเทพมหานคร ควรให้ความสำคัญกับการพัฒนาคุณภาพบริการ การสร้างความน่าเชื่อถือในบริการและตราสินค้า เพื่อให้ผู้รับบริการเกิดความเชื่อถือ ยอมรับ และกลับมาใช้บริการซ้ำ จนกระทั่งแปรเปลี่ยนสัมพันธภาพไปสู่ความภักดีในระยะยาวต่อไป

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

กรมพัฒนาธุรกิจการค้า (2553). การศึกษาสถานภาพและความสามารถในการแข่งขันของธุรกิจโรงพยาบาลในประเทศไทย. สืบค้นเมื่อ 5 ต.ค. 2559, จาก http://www.caii-thailand.com

กัลยา วานิชย์บัญชา (2542). การวิเคราะห์สถิติ: สถิติเพื่อการตัดสินใจ. กรุงเทพมหานคร:โรงพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

สำนักงานสถิติแห่งชาติ (2558). สืบค้นเมื่อ 20 ม.ค. 60, จากhttp://osthailand.nic.go.th

สุชาติ ประสิทธิ์รัฐสินธุ์ (2555). ระเบียบวิธีการวิจัยทางสังคมศาสตร์.กรุงเทพมหานคร: เฟื่องฟ้า พริ้นติ้ง.

สุชาติ ประสิทธิ์รัฐสินธุ์ กรรณิการ์ สุขเกษม โศภิต ผ่องเสรี และถนอมรัตน์ ประสิทธิเมตต์ (2551). แบบจำลองสมการโครงสร้างการใช้โปรแกรม LISREL, PRELIS และ SIMPLIS. กรุงเทพมหานคร: ห้างหุ้นส่วนจำกัด สามลดา.

อดุล จาตุรงคกุล และดลยา จาตุรงคกุล (2550). พฤติกรรมผู้บริโภคกรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ หน้า 32 – 34

Aagja, J. P., & Garg, R. (2010). Measuring perceived service quality for public hospitals in the Indian context. International Journal of Pharmaceutical and Healthcare Marketing, 4(1): 60-83.

Abdelfattah, Fadi Abdelmuniem; Rahman, Muhammad Sabbir; Osman,Mohamad (2015). Assessing the Antecedents of Customer Loyaltyon Healthcare Insurance Products: Service Quality; Perceived Value Embedded Model. Journal of Industrial Engineering and Management; 8(5): 39-40.

Argan N. (2016) Investigating word-of-mouth (WOM) factors influencing patients’ Physician choice and satisfaction International Journal of Medical Research & Health Sciences, 5(1): 191.

Astuti, Herni Justiana and Nagase, Keisuke (2014). Patient Loyalty to Healthcare Organizations: Relationship Marketing and Satisfaction International Journal of Management and Marketing Research, 7(2): 39-40

Cham T.H., Lim Y.M., Aik N.C , Tay A.G.M. (2016) "Antecedents of hospital brand image and the relationships with medical tourists’ behavioral intention", International Journal of Pharmaceutical and Healthcare Marketing, 10(4): 412-431

Emmert, M. and Schlesinger, M. (2017), Hospital Quality Reporting in the United States: Does Report Card Design and Incorporation of Patient Narrative Comments Affect Hospital Choice?. Health Serv Res, 52: 933–938.

Grace, J. B. (2008). Structural Equation Modeling for Observational Studies. Journal of Wildlife Management, 72(1): 14-22.

Hsieh, A.-T., & Li, C.-K. (2008). The moderating effect of brand image on public relations perception and customer loyalty. Marketing Intelligence & Planning, 26(1): 26-32.

Islam R, Ahmed S, Tarique KM. (2016). Prioritisation of service quality dimensions for healthcare sector. Int J Med Eng Informat.; 8(2): 108-113.

Jana Kay Slater, Marc T. Braverman, Thomas Meath. (2017). Patient satisfaction with a hospital’s arts-enhanced environment as a predictor of the likelihood of recommending the hospital. Arts & Health, 9(2): 97-99.

Khanchitpol, Y., & Johnson, W. C. (2013). Out-patient Service Quality Perceptions in Private Thai Hospitals. International Journal of Business and Social Science, 4(2): 46-50.

Kotler, P. and Keller, K. (2016). Marketing management. 15th ed. Harlow: Pearson, 32-38.

Kumaraswamy, S. (2012). Service Quality in Health Care Centres: An Empirical Study. International Journal of Business and Social Science, 3(16): 141-150.

MacCallum RC, Lee T, Browne MW. (2010). The issue of isopower in power analysis for tests of structural equation models. Structural Equation Modeling; 17: 23–41.

Mosadeghrad, A. M. (2014). Factors Affecting Medical Service Quality. Iranian Journal Public Health. 43(2): 210-212

Pai, Y, P., & Chary, S. T. (2013). Dimensions of hospital service quality: a critical review, perspective of patients from global studies. International Journal of Health Care Quality Assurance, 26(4): 308-310.

Satsanguan, L., Fongsuwan, W., & Trimetsoontorn, J (2015). Structural equation modeling