การพัฒนากระบวนการจัดการเรียนรู้ของครูสอนดีในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน

Main Article Content

ดวงพร ดุษฎี
บรรจง เจริญสุข
วันชัย ธรรมสัจการ

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งมีวัตถุประสงค์เพื่อ ศึกษาการพัฒนากระบวนการจัดการเรียนรู้ของครูสอนดี ในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน : เป็นการศึกษาแนวปรากฏการณ์วิทยา (A phenomenological study) เกณฑ์การเลือกผู้ให้ข้อมูลหลัก เป็นครูที่ได้รับรางวัลครูสอนดี จากสำนักงานส่งเสริมสังคมแห่งการเรียนรู้และคุณภาพเยาวชน ในเขตภาคใต้ตอนบน จำแนกตามกลุ่มสาระการเรียนรู้ 8 กลุ่มสาระ จำนวน 8 ราย และกลุ่มบุคคลแวดล้อมอีก 24 ราย รวมทั้งหมด 32 ราย เก็บรวบรวมข้อมูลด้วยการสัมภาษณ์และการสังเกตจากการไปเยี่ยมบ้าน วิเคราะห์ข้อมูลโดยการวิเคราะห์เนื้อหา (Content analysis) จำแนกหมวดหมู่ ตีความ ถอดรหัส สังเคราะห์ และตรวจสอบข้อมูลแบบสามเส้า


ผลการวิจัยพบว่าการพัฒนากระบวนการจัดการเรียนรู้ของครูสอนดีมี 9 ขั้น ดังนี้ 1) วิเคราะห์บริบทแวดล้อมทั่วไป 2) ศึกษาวิเคราะห์หลักสูตรให้ถ่องแท้ 3) วางแผน การจัดการเรียนรู้อย่างเป็นระบบ 4) เลือกใช้วิธีการจัดการเรียนรู้ใหม่ๆ 5) พัฒนาสื่อ นวัตกรรมใหม่ๆ 6) สร้างบรรยากาศในชั้นเรียนเอื้อต่อการเรียนรู้ 7) วัดและประเมินผลการจัดการเรียนรู้ตามสภาพจริง 8) ทำวิจัยชั้นเรียนเพื่อแก้ไขและพัฒนาผู้เรียนอย่างต่อเนื่อง และ 9) สร้างเครือข่ายการเรียนรู้

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์. (2550). อย่างไรจึงเรียกว่าครูสอนดี. [Online]. Available : http://www.kriengsak.com/ node/377 [ 2555, กุมภาพันธ์ 27 ]

คณะกรรมการการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ, สำนักงาน. (2554). แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ.ฉบับที่ 11 พ.ศ.2555-2559. [Online]. Available : http://www..nesdb.go.th. [2556, ตุลาคม 5]

คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน, สำนักงาน. (2552). คู่มือการปฏิบัติงานข้าราชการครู. สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กรุงเทพฯ : สำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ.

_______. (2553). คู่มือการประเมินสมรรถนะครู (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2553). [Online]. Available : http://www.kroobannok.com/27638 [2553, สิงหาคม 5]

_______. (2554). แนวทางการประเมินคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา. สำนักทดสอบทางการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. กรุงเทพฯ : สำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ.

คณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ. (2542). พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542. กรุงเทพฯ : สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ.

_______. (2545). พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2545.กรุงเทพฯ : สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ

_______. (2553). พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2545 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 3) พ.ศ.2553. กรุงเทพฯ : สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ.

ณัฏฐภรณ์ หลาวทอง และปิยวรรณ วิเศษสุวรรณภูมิ. (2553). การพัฒนาแบบวัดจิตวิญญาณความเป็นครู. รายงานฉบับสมบูรณ์. มูลนิธิสดสี-สฤษดิ์วงศ์.

ทิศนา แขมมณี. (2551ก). ศาสตร์การสอน : องค์ความรู้เพื่อการจัดกระบวนการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพ. (พิมพ์ครั้งที่ 7). กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย.

_______. (2551ข). รูปแบบการเรียนการสอนทางเลือกที่หลากหลาย. (พิมพ์ครั้งที่ 5). กรุงเทพฯ : แอคทีฟ พริ้นท์.

_______. (2555). ศาสตร์การสอน : องค์ความรู้เพื่อการจัดกระบวนเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพ. (พิมพ์ครั้งที่ 15). กรุงเทพฯ : ด่านสุทธาการพิมพ์

ธรรมนันทิกา แจ้งสว่าง. (2554). ประสบการณ์ของการเป็นครูผู้มีจิตวิญญาณความเป็นครู : การศึกษาเชิงปรากฏการณ์วิทยา. ปริญญาวิทยาศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาการวิจัยพฤติกรรมศาสตร์ประยุกต์ บัณฑิตวิทยาลัยมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

บริการข้อมูลเศรษฐกิจระหว่างประเทศ, ศูนย์. (2556). World economic forum : WEF [Online]. Available http://thaipublica.org 2013 [October,10,26]

ปฏิบัติการสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน, ศูนย์. (2555). สารสนเทศ. กรุงเทพฯ : สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน.

รัฐมนตรี, สำนักงาน. (2553). ครม.เห็นชอบแผนการศึกษาแห่งชาติ ฉบับปรับปรุง (พ.ศ. 2552–2559). [Online]. Available http://www.moe.go.th/websm/ 2010/jan/003.html [2555, สิงหาคม 20]

_______. (2556). 8 นโยบายการศึกษา “จาตุรนต์ ฉายแสง”. [Online]. Available : http://www.moe.go.th/websm/2013/jul/212.html. [2556, ตุลาคม 26]

รับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน), สำนักงาน. (2553). คู่มือการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม (พ.ศ.2554-2558) ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานฉบับสถานศึกษา พ.ศ.2554. กรุงเทพฯ : แม็ทช์พอยท์.

เลขาธิการคุรุสภา, สำนักงาน. (2548). มาตรฐานวิชาชีพทางการศึกษา. กรุงเทพฯ : คุรุสภาลาดพร้าว.

_______. (2553). มาตรฐานการประกอบวิชาชีพ:มาตรรฐานวิชาชีพครู. [Online]. Available : http://e-book.ram.edu/e-book/c/CU503/CU503-4.pdf [2558, มีนาคม 15]

เลขาธิการสภาการศึกษา, สำนักงาน. (2551). กรอบทิศทางการพัฒนาการศึกษาในช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 10 (พ.ศ.2550-2554 ที่สอดคล้องกับแผนการศึกษาแห่งชาติ (พ.ศ.2545-2559) กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

_______. (2553). ข้อเสนอการปฏิรูปการศึกษาไทยทศวรรษที่สอง (พ.ศ.2552-2561). กรุงเทพฯ : พริกหวานกราฟฟิก

_______. (2553). แผนการศึกษาแห่งชาติ ฉบับปรับปรุง (พ.ศ.2552-2559). กรุงเทพฯ : พริกหวานกราฟฟิก

วิจารณ์ พานิช. (2555). วิถีสร้างการเรียนรู้เพื่อศิษย์ในศตวรรษที่ 21. (พิมพ์ครั้งที่ 5). กรุงเทพฯ : ตถาตา พับลิเคชั่น.

วิทยากร เชียงกูล. (2551). รายงานสภาวะการศึกษาไทย 2550/2551 ปัญหาความเสมอภาคและคุณภาพของการศึกษาไทย. [Online]. Available : http://witayakornclub.wordpress.com [2555, สิงหาคม 20]

ศึกษาธิการ, กระทรวง. (2553). พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการครูและบุคลากร ทางการศึกษา ฉบับที่ 3 พ.ศ.2553. [Online]. Available : http://www.myfirs tbrain.com/teacher_view.aspx?ID=88997 [2558, มีนาคม 4].

_______.(2555). คุณลักษณะของครูที่ดีจากการศึกษางานวิจัย กลุ่มการศึกษาทั่วไป (Online). Available : www.ru.ac.th [2558, มีนาคม 13]

ส่งเสริมสังคมแห่งการเรียนรู้และคุณภาพเยาวชน (สสค.), สำนักงาน.(2553). คู่มือการคัดเลือกครูสอนดีและครูผู้รับทุนครูสอนดี ประจำปี 2554 เพื่อดำเนินงานตามแผนปฏิรูปประเทศ ในโครงการสังคมไทยร่วมกันคืนครูดีให้ศิษย์ เชิดชู ยกย่อง “ครูสอนดี”.

สถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ (องค์การมหาชน). (2553). วิกฤติการศึกษาไทย. กรุงเทพฯ : ห้างหุ้นส่วนจำกัด วี. ที. ซี. คอมมิวนิเคชั่น.

สุทธิพร จิตต์มิตรภาพ. (2553). การเปลี่ยนแปลงโลกของการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 และการพัฒนาสู่ครูมืออาชีพ ในสุดาพร ลักษณียนาวิน (บรรณาธิการ).(2553). การเรียนรู้สู่การเปลี่ยนแปลง. สมาคมเครือข่ายการพัฒนาวิชาชีพอาจารย์และองค์กรอุดมศึกษาแห่งประเทศไทย. กรุงเทพฯ : สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา.

อาภารัตน์ ราชพัฒน์. (2554). การพัฒนาตัวบ่งชี้ภาวะผู้นำของครูในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน. วิทยานิพนธ์ปริญญาปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น.

Husserl, E. (1997). Thing and Space : Lecture of 1970. Translated and edited by Richard Rojcewicz. Dordrecht and Boston, Massachusetts : Kluwer Academic Publishers.

Unesco. (1996). Report to UNESCO of the International Commission on Education for the Twenty-First Century. [Online]. Available : http://www.unesco.org/ [2015, March 4]