คุณธรรมที่ปรากฏในวรรณกรรมเยาวชน เรื่อง “หมูบินได้”
Main Article Content
บทคัดย่อ
การศึกษาคุณธรรมที่ปรากฏในวรรณกรรมเยาวชน เรื่อง “หมูบินได้” มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาคุณธรรมในหนังสือวรรณกรรมเยาวชนรางวัลชนะเลิศเซเว่นบุ๊คอวอร์ด เรื่อง “หมูบินได้” รูปแบบวิธีวิจัยเป็นรูปแบบการวิจัยเชิงคุณภาพ ที่เน้นการสังเคราะห์เนื้อหาจากวรรณกรรม และนำเสนอผลการวิจัยด้วยการพรรณนาเชิงวิเคราะห์
ผลการวิจัยพบว่า ด้านคุณธรรมปรากฏทั้ง 12 ประการ ที่พบมากที่สุด คือ ความอดทน รองลงมาคือ ความสันโดษ รู้จักพอ ความกล้าหาญ ความเป็นตัวเอง มั่นใจในตนเอง ความมีวินัย ความมีเมตตา ความสามัคคี ความซื่อสัตย์ ความอ่อนน้อมถ่อมตน ความกตัญญู ความขยันหมั่นเพียร และคติธรรมที่ปรากฏน้อยที่สุดคือความเสียสละ
Article Details
เนื้อหาและข้อมูลในบทความที่ลงตีพิมพ์ในวารสารวิชาการมหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต ถือเป็นข้อคิดเห็นและความรับผิดชอบของผู้เขียนบทความโดยตรง ซึ่งกองบรรณาธิการวาสารฯ ไม่จำเป็นต้องเห็นด้วยหรือร่วมรับผิดชอบใด ๆ
บทความ ข้อมูล เนื้อหา รูปภาพ ฯลฯ ที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารวิชาการมหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต ถือเป็นลิขสิทธิ์ของวารสารวิชาการมหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต หากบุคคลหรือหน่วยงานใดต้องการนำทั้งหมดหรือส่วนหนึ่งส่วนใดไปเผยแพร่ต่อหรือเพื่อกระทำการใด ๆ จะต้องได้รับอนุญาตเป็นลายลักษณ์อักษรจากวารสารวิชาการมหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ตก่อนเท่านั้น
References
Aruntaree, S. (1999). Tales for Preschool Children: Early Childhood Education Program. Faculty of Education, Phuket Rajabhat Institute.
Chai-Chancheep, O. (2014). Flying Pig. Ped Tao Kuay.
Chutap, W. (2014). Wisdom in youth literature of southern writers. Ramkhamhaeng University.
Khantipalo, W. (2018). A Study of Buddhist Dharma in the Ritual of Worshiping Grandfather Xiang Noi of the villagers in Ban Pao Sub-district Amphur Kasetsombun, Chaiyaphum Province. Mahachulalongkornrajavidyalaya University.
Khumphaire, S. (2014). The inheritance of literature and fairy tales in Thai youth literature during the year 2002 - 2011. [Master’s thesis, Silpakorn University]. Retrieved December 4th, 2020 from http://www.sure.su.ac.th/xmlui/bitstream/handle/123456789/4473/Supasinee_Kumpiree_fulltext.pdf?sequence=2&isAllowed=y
Lek-Ruengsin, A. (1999). Morality and ethics for executives. Faculty of Education, Rajabhat Institute Suan Dusit.
Pariyawate, P. (2008). Ethical Development of Early Childhood by Storytelling and Follow-up. [Master’s thesis]. Srinakharinwirot University.
Tebhanan, W. (2015). The Dharmic principle of buddhist to support moral conformity and political learning according to the story of MAHAJANAKA. [Master’s thesis, Chiang Mai University]. Retrieved December 4th, 2020 from http://repository.cmu.ac.th/handle/6653943832/39532
Thinsandee, W. (2007). Moral and Ethical Development Sahatsakhan District Kalasin Province. Mahasarakham Rajabhat University.
Wannakit, N. (2016). Children's literature. (2nd ed.). Inthanin.