คุณสมบัติที่สำคัญของผู้บริหารสถาบันการศึกษายุคปัจจุบัน

ผู้แต่ง

  • ประทีป มากมิตร สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ คณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเอเชียอาคเนย์

คำสำคัญ:

ผู้บริหาร, สถานศึกษา, คุณลักษณะ

บทคัดย่อ

บทความนี้มีจุดมุ่งหมายที่จะนำเสนอคุณสมบัติที่สำคัญของผู้บริหารสถาบันการศึกษาในยุคปัจจุบัน ยุคที่มีการนำเทคโนโลยีสารสนเทศเข้ามาใช้จนเกิดการเปลี่ยนแปลงในทุกๆด้านโดยเฉพาะทางด้านการศึกษา ในฐานะผู้บริหารสถาบันการศึกษาที่มีความสำคัญยิ่งต่อการความเจริญก้าวและความเสื่อมถอยของสถานศึกษาจึงต้องปรับเปลี่ยนและพัฒนาตนเองให้มีความพร้อมที่จะบริหารจัดการและแก้ปัญหาท่ามกลางความเปลี่ยนแปลงของสังคมและของโลก ผู้บริหารสถานศึกษาจึงควรมีคุณสมบัติที่สำคัญ ประการแรกก็คือมีวิสัยทัศน์ของการศึกษาไทยในอนาคต ประการที่สองก็คือมีคุณลักษณะของผู้บริหารยุคใหม่ ประการที่สามก็คือมีบทบาทและทักษะที่จำเป็น และประการสุดท้ายก็คือมีคุณธรรมจริยธรรมของผู้บริหาร ผู้บริหารสถาบันการศึกษาที่มีคุณสมบัติที่สำคัญทั้ง 4 ประการตามที่กล่าวมาก็สามารถนำพาสถานศึกษาให้ประสบความสำเร็จตามวัตถุประสงค์และเป้าหมายที่ตั้งไว้ได้เป็นอย่างดี

References

[1] การปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษที่ 2 (2552-2561), [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา URL: http://www. techno.ictbk.net/UserFiles/pratirub%202.pdf, เข้าดูเมื่อวันที่ 20 /มิถุนายน /2559

[2] แนวทางจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21. [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา URL: http://www.hpk.ac.th/ckfinder/ userfiles/files/T21.pdf, เข้าดูเมื่อวันที่ 18 / มิถุนายน /2559

[3] วิจารณ์ พานิช. (2555). วิถีสร้างการเรียนรู้เพื่อศิษย์ในศตวรษที่ ๒๑. กรุงเทพฯ: มูลนิธิสดศรี-สฤษดิ์วงศ์.

[4] The Global Leader of the Future: New Competencies for a New Era. [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา URL: http://www.marshallgoldsmithlibrary.com/cim/articles_display.php?aid=128

[5] พระเมธีธรรมาภรณ์ (ประยูร ธมมจิตโต). (2546). คุณธรรมสำหรับนักบริหาร. กรุงเทพฯ: สถาบันพัฒนาข้าราชการพลเรือนสำนักงาน ก.พ.

[6] พระธรรมปิฏก (ป.อ.ปยุตโต). (2546). ธรรมนูญชีวิต. กรุงเทพฯ: สหมรรมิก.

[7] ศักดิ์ไทย สุรกิจบวร. (2549). การแสวงหาและแนวทางการพัฒนาภาวะผู้นำของผู้บริหารมืออาชีพ: กรณีผู้บริหารการศึกษาและผู้บริหารสถานศึกษา. กรุงเทพฯ: สุวีริยาสาส์น.

[8] Katz, Robert L. (1995). “Skills of an Effective Administrators”, Harvard Business Review. 33, (January-February). pp. 33-42.

[9] Drake, Thelbert L. & Roe, William H. (1986).The Principalship. 3rd ed. New York: Macmillian London: Collier Macmillian.

[10] พระธรรมปิฏก (ป.อ.ปยุตโต). (2546). ธรรมนูญชีวิต.กรุงเทพฯ: สหมรรมิก.

[11] พระธรรมปิฏก (ป.อ.ปยุตโต). (2546). ธรรมนูญชีวิต. กรุงเทพฯ: สหมรรมิก.

[12] Hermanne Becke. Is the Observance of Ethical Principles a Legal Requirement for University Leadership, URL: http://www.helsinkifi/imua2001/Becke.pdf access on 12/06/2016.

[13] สุเทพ พงศ์ศรีวัฒน์. (2545). ภาวะผู้นำ: ทฤษฎีและปฏิบัติ. กรุงเทพฯ: บุคส์ลิงค์

[14] การสร้างองค์การที่มีศักดิ์ศรีและจริยธรรม. (2549) เอกสารเพื่อการพัฒนาองค์ความรู้เกี่ยวกับการพัฒนา ระบบราชการ หมายเลข011 สำนักงาน ก.พ.ร.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2017-06-30