แนวโน้มตลาดธุรกิจสินค้าออนไลน์ที่ต้องมีระยะเวลาในการสั่งซื้อในอนาคต

ผู้แต่ง

  • ศุภกร เจียรนันทพิสุทธิ์ คณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
  • สุกฤฏิ์ ชัยวงศ์วุฒิกุล คณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
  • สุทธิดา เอกสินิทธ์กุล คณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
  • ศุภชัย เหมือนโพธิ์ คณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
  • รุ่งทิพย์ ไทยสม คณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

คำสำคัญ:

ตลาดธุรกิจสินค้า, ธุรกิจทางออนไลน์, การสั่งซื้อในอนาคต

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาแนวคิดทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับตลาดธุรกิจสินค้าที่ต้องมีระยะเวลาในการสั่งซื้อ (2) ศึกษาแนวโน้มตลาดธุรกิจสินค้าที่ต้องมีระยะเวลาในการสั่งซื้อในอนาคต และ (3) จัดทาข้อเสนอแนะด้านต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับตลาดธุรกิจสินค้าที่ต้องมีระยะเวลาในการสั่งซื้อ โดยเก็บรวบรวมข้อมูลด้วยวิธีการสัมภาษณ์เชิงลึกกับ ผู้ทรงคุณวุฒิและผู้เชี่ยวชาญเรื่องตลาดสินค้าที่ต้องมีระยะเวลาในการสั่งซื้อจานวน 5 คน จากการศึกษาพบว่า แนวโน้มตลาดธุรกิจสินค้าที่ต้องมีระยะเวลาในการสั่งซื้อ (1) ตลาดภาคธุรกิจยังคงมีแบบแผนเหมือนเดิม คนส่วนมากหันมาทาธุรกิจทางออนไลน์ และต้องการทาธุรกิจที่ไม่ต้องใช้เงินทุนจานวน มาก ซึ่งธุรกิจสินค้าที่ต้องมีระยะเวลาในการสั่งซื้อเป็นอีกหนึ่งธุรกิจที่ได้รับความนิยม (2) ตลาดผู้บริโภคมีแนวโน้มจะเติบโตขึ้นตามพฤติกรรมที่เปลี่ยนแปลงไปของผู้บริโภค และอีกหนึ่งสาเหตุที่ทาให้แนวโน้มตลาดธุรกิจสินค้าที่ต้องมีระยะเวลาในการสั่งซื้อเติบโตขึ้น คือ คนส่วนมากหันมาทาธุรกิจทางออนไลน์ และต้องการทาธุรกิจที่ไม่ต้องใช้เงินทุนจานวนมาก ซึ่งธุรกิจสินค้าที่ต้องมีระยะเวลาในการสั่งซื้อเป็นอีกหนึ่งธุรกิจที่ได้รับความนิยม ดังนั้น แนวทางในการทาธุรกิจ คือ ต้องมีการศึกษาข้อมูลด้านต่างๆ เช่น สินค้าชนิดใดเป็นที่ต้องการของตลาด และเป็นสินค้าที่ตรงกับกลุ่มเป้าหมาย เฉพาะความรู้ด้านเทคโนโลยี หรือแม้กระทั่งความรู้ทางเศรษฐกิจในด้านโครงสร้างภาษี แล้วจึงมีการสร้างเทคนิคและกลยุทธ์ในการทาธุรกิจโดยหาวิธีการดาเนินการขยายช่องทางการขาย และการทาให้ เป็นที่รู้จักของตลาดด้วยการใช้ส่วนประสมทางการตลาดต่างๆ สุดท้ายกลยุทธ์ที่สาคัญที่สุดในการทาธุรกิจ คือ การมีจริยธรรม ซื่อสัตย์ต่อลูกค้าให้บริการอย่างจริงใจไม่หลอกลวง

Author Biography

ศุภกร เจียรนันทพิสุทธิ์, คณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาแนวคิดทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับตลาดธุรกิจสินค้าที่ต้องมีระยะเวลาในการสั่งซื้อ (2) ศึกษาแนวโน้มตลาดธุรกิจสินค้าที่ต้องมีระยะเวลาในการสั่งซื้อในอนาคต และ (3) จัดทาข้อเสนอแนะด้านต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับตลาดธุรกิจสินค้าที่ต้องมีระยะเวลาในการสั่งซื้อ โดยเก็บรวบรวมข้อมูลด้วยวิธีการสัมภาษณ์เชิงลึกกับ ผู้ทรงคุณวุฒิและผู้เชี่ยวชาญเรื่องตลาดสินค้าที่ต้องมีระยะเวลาในการสั่งซื้อจานวน 5 คน จากการศึกษาพบว่า แนวโน้มตลาดธุรกิจสินค้าที่ต้องมีระยะเวลาในการสั่งซื้อ (1) ตลาดภาคธุรกิจยังคงมีแบบแผนเหมือนเดิม คนส่วนมากหันมาทาธุรกิจทางออนไลน์ และต้องการทาธุรกิจที่ไม่ต้องใช้เงินทุนจานวน มาก ซึ่งธุรกิจสินค้าที่ต้องมีระยะเวลาในการสั่งซื้อเป็นอีกหนึ่งธุรกิจที่ได้รับความนิยม (2) ตลาดผู้บริโภคมีแนวโน้มจะเติบโตขึ้นตามพฤติกรรมที่เปลี่ยนแปลงไปของผู้บริโภค และอีกหนึ่งสาเหตุที่ทาให้แนวโน้มตลาดธุรกิจสินค้าที่ต้องมีระยะเวลาในการสั่งซื้อเติบโตขึ้น คือ คนส่วนมากหันมาทาธุรกิจทางออนไลน์ และต้องการทาธุรกิจที่ไม่ต้องใช้เงินทุนจานวนมาก ซึ่งธุรกิจสินค้าที่ต้องมีระยะเวลาในการสั่งซื้อเป็นอีกหนึ่งธุรกิจที่ได้รับความนิยม ดังนั้น แนวทางในการทาธุรกิจ คือ ต้องมีการศึกษาข้อมูลด้านต่างๆ เช่น สินค้าชนิดใดเป็นที่ต้องการของตลาด และเป็นสินค้าที่ตรงกับกลุ่มเป้าหมาย เฉพาะความรู้ด้านเทคโนโลยี หรือแม้กระทั่งความรู้ทางเศรษฐกิจในด้านโครงสร้างภาษี แล้วจึงมีการสร้างเทคนิคและกลยุทธ์ในการทาธุรกิจโดยหาวิธีการดาเนินการขยายช่องทางการขาย และการทาให้ เป็นที่รู้จักของตลาดด้วยการใช้ส่วนประสมทางการตลาดต่างๆ สุดท้ายกลยุทธ์ที่สาคัญที่สุดในการทาธุรกิจ คือ การมีจริยธรรม ซื่อสัตย์ต่อลูกค้าให้บริการอย่างจริงใจไม่หลอกลวง

References

เจริญศักดิ์ รัตนวราห. (2554). PHP & MySQL สร้าง web programming ด้วยภาษายอดนิยมที่สุดในยุคนี้. กรุงเทพมหานคร: เน็ตดีไซน์ พับลิชชิ่ง.

ฉวีวงศ์ บวรกีรติขจร. (2560). การศึกษาการซื้อขายสินค้ากลุ่มแฟชั่นในสื่อสังคมออนไลน์. Veridian E-Journal Silpakorn university, 10(2), 2056-2071.

ตะกร้าออนไลน์. (2557). พรีออเดอร์. (ออนไลน์). ค้นเมื่อ 20 ตุลาคม 2561, จาก https://www.takraonline.com

ยุพาวรรณ วรรณวาณิชย์. (2548). การตลาดบริการ. กรุงเทพมหานคร: สานักพิมพ์เกษตรศาสตร์.

Brand, D.D. (2560). Pre-Oder. (Online). ค้นเมื่อ 20 ตุลาคม 2561, จาก https://www.branddoodee.com

Etzel, M. J., Walker, B. J., & Stanton, W. J. (2001). Marketing. (12th ed). Boston: McGraw-Hill.

Krugman & Obstfeld. (2003). International Economics: Theory and Policy. Boston: Addison-Wesley.

Philip Kotler. (2000). Marketing Management. New Jersey: Prentice.

Taobao. (2018). ปัญหาของสินค้าพรีออเดอร์. (online). Retrieved June 21, 2018, From http://www.taobaothailand.com/.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2019-06-01