ความสัมพันธ์ระหว่างแรงจูงใจในการทางานกับความผูกพันของพนักงาน ธนาคารพาณิชย์แห่งหนึ่ง สานักงานเขตสามยอด

ผู้แต่ง

  • สุนันทา ภูวงษ์ ธนาคารกรุงไทย จากัด (มหาชน)
  • กนกอร บุญมาเกิด ธนาคารกรุงไทย จากัด (มหาชน)
  • สุชารัตน์ บุญอยู่ ธนาคารกรุงไทย จากัด (มหาชน)

คำสำคัญ:

แรงจูงใจในการทางาน, ความผูกพันของพนักงาน

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาระดับแรงจูงใจในการทางานและความผูกพันของพนักงาน และ (2) ความสัมพันธ์ระหว่างแรงจูงใจในการทางานกับความผูกพันของพนักงานธนาคารพาณิชย์แห่งหนึ่ง สานักงานเขตสามยอด กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ พนักงานธนาคารพาณิชย์แห่งหนึ่ง สานักงานเขตสามยอด จานวน 134 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน ผลการวิจัยพบว่า (1) พนักงานธนาคารพาณิชย์แห่งหนึ่ง สานักงานเขตสามยอด มีแรงจูงใจในการทางานและความผูกพันของพนักงานโดยรวมอยู่ในระดับมาก และ (2) ความสัมพันธ์ระหว่างแรงจูงใจในการทางานกับความผูกพันของพนักงานธนาคารพาณิชย์แห่งหนึ่ง สานักงานเขตสามยอด พบว่า แรงจูงใจในการทางานมีความสัมพันธ์กับความผูกพันของพนักงาน อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01

References

โพสต์ทูเดย์. (2556). สมองไหล: โจทย์ใหญ่แบงก์ไทย. ค้นเมื่อ 27 เมษายน, 2560, จาก https://www. posttoday.com/finance/news/243169.

จานง เหล่าคงธรรม. (2554). การศึกษาความผูกพันของพนักงานของผู้บริหารสถานศึกษาและครูผู้สอน สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาตราด. วิทยานิพนธ์ปริญญาครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการบริหารการศึกษา, มหาวิทยาลัยราชภัฏราไพพรรณี.

ฐิติมา หลักทอง. (2557). ความผูกพันต่อองค์กรของพนักงานบริษัท ผลิตชิ้นส่วนอุตสาหกรรมยานยนต์แห่งหนึ่งในนิคมอุตสาหกรรมอมตะนคร จังหวัดชลบุรี. วิทยานิพนธ์ปริญญารัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยบูรพา.

ณัฎฐพันธ์ เขจรนันทน์. (2551). พฤติกรรมองค์กร. กรุงเทพมหานคร: ซีเอ็ดยูเคชั่น.

ธนาคารพาณิชย์แห่งหนึ่ง สานักงานเขตสามยอด. (2560) ขอมูลจานวนทรัพยากรบุคคลประจาปี 2560. กรุงเทพมหานคร: ธนาคารพาณิชย์แห่งหนึ่ง สานักงานเขตสามยอด.

ปฐมวงค์ สีหาเสนา. (2557). แรงจูงใจในการปฏิบัติงานของบุคลากรเทศบาลตาบลค่ายเนินวงตาบลบางกะจะ อาเภอเมืองจันทบุรี จังหวัดจันทบุรี. วิทยานิพนธ์ปริญญารัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยบูรพา.

พิศิษฐ์ มอญไข่. (2554). ความผูกพันต่อองค์กรของพนักงานการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค จังหวัดเชียงใหม่. การค้นคว้าอิสระปริญญาบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร.

ศุภรางศ์ สุขถาวรธรรม. (2555). ความสัมพันธ์ของแรงจูงใจกับผลการปฏิบัติงานตามบทบาทหน้าที่ของพนักงานธนาคารแห่งประเทศไทย. วิทยานิพนธ์ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยศิลปากร.

สมจิตร จันทร์เพ็ญ. (2557). ความผูกพันของพนักงานของเจ้าหน้าที่ สถาบันพัฒนาองค์กรชุมชน (องค์กรมหาชน). การค้นคว้าอิสระปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิ สาขาการบริหารพัฒนาสังคม, สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์.

สายใจ กุลนายะ. (2556). รายได้และระดับความผูกพันต่อองค์กรของพนักงานระดับปฏิบัติการ: กรณีศึกษา บริษัท เทนเนโก ออโตโมทีพ (ประเทศไทย) จากัด. เชียงใหม่: มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

Altindis, S. (2011). Job motivation and organizational commitment among the health professionals: A questionnaire survey. African Journal of Business Management, 5(21), 8601-8609.

Corsini, R. (2002). The Dictionary of Psychology. New York: Brunner-Routledge.

Daft, R. L. (2000). Management. (5th ed.). Fort Worth: Dryden.

Kabalmay, J., Hubeis, A. V., & Dirdjosuparto, S. (2014). The influence of motivation on commitment of employees at Fisheries Polytechnics of Tual. Asian Journal of Business and Management, 2(4), 393-397.

Kumar, A., Abbas, Q., Ghumro, I. A., & Zeeshan, A. (2011). Job characteristics as predictors of job satisfaction and motivation. Asian Journal of Business and Management Sciences, 1(4), 206-216.

Likert, R. A. (1932). A technique for the measurement of attitudes. Archives of Psychology, 140, 5-53.

Salleh, S. M., Zahari, A. S. M., Said, N. S. M., & Ali, S. R. O. (2016). The influence of work motivation on organizational commitment in the workplace. Journal of Applied Environmental and Biological Sciences, 6(55), 139-143.

Yamane, T. (1973). Statistics: An introductory analysis. (3rd ed.). New York: Harper and Row.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2019-07-01