ความสัมพันธ์ของการบริหารทรัพยากรมนุษย์กับประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานและ ความจงรักภักดีของพนักงานระดับปฏิบัติการ บริษัทเอกชน (ธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ ในจังหวัดสมุทรสาคร)

ผู้แต่ง

  • นฤมล ทรัพย์หลาย บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยเอเชียอาคเนย์
  • วิชากร เฮงษฏีกุล หลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยเอเชียอาคเนย์

คำสำคัญ:

การบริหารทรัพยากรมนุษย์, ประสิทธิภาพในการปฏิบัติ, ความจงรักภักดี

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ (1) เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการบริหารทรัพยากรมนุษย์กับประสิทธิภาพการทางานของพนักงานระดับปฏิบัติการบริษัทเอกชน (ธุรกิจอสังหาริมทรัพย์) ในจังหวัดสมุทรสาคร (2) เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการบริหารทรัพยากรมนุษย์กับความจงรักภักดีของพนักงานระดับปฏิบัติการบริษัทเอกชน (ธุรกิจอสังหาริมทรัพย์) ในจังหวัดสมุทรสาคร
กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ได้แก่ พนักงานระดับปฏิบัติการบริษัทเอกชน (ธุรกิจอสังหาริมทรัพย์) ในจังหวัดสมุทรสาคร จานวน 387 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบสอบถาม สถิติในการวิเคราะห์ข้อมูล สถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ ค่าความถี่ (Frequency) ค่าร้อยละ (Percentage) ค่าเฉลี่ย (Mean) และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) สถิติเชิงอนุมาน ได้แก่ สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน (Pearson’s Product Moment Correlation Coefficient)
ผลการวิจัยพบว่า (1) การบริหารทรัพยากรมนุษย์มีความสัมพันธ์กับประสิทธิภาพในการปฏิบัติงาน (1.1) ด้านปริมาณงานมีความสัมพันธ์กันในระดับต่า (r=0.375, p-value<0.01) (1.2) ด้านคุณภาพงานมีความสัมพันธ์กันในระดับต่ามาก (r = 0.248, p-value < 0.01) (1.3) ด้านค่าใช้จ่ายมีความสัมพันธ์กันในระดับต่า (r = 0.425, p-value < 0.01 ) (1.4) ด้านเวลาที่ใช้ในการทางานมีความสัมพันธ์กันในระดับต่า (r =0.458, p-value < 0.01) (2) การบริหารทรัพยากรมนุษย์มีความสัมพันธ์กับความจงรักภักดี (2.1) ด้านพฤติกรรมที่แสดงออกมีความสัมพันธ์กันในระดับต่า (r =0.459, p-value < 0.01) (2.2) ด้านความรู้สึกมีความสัมพันธ์กันในระดับต่า (r =0.304, p-value < 0.01) (2.3) ด้านการรับรู้มีความสัมพันธ์กันในระดับต่ามาก (r =0.267, p-value < 0.01)

References

สมชาย หิรัญกิตติ. (2542). การบริหารทรัพยากรมนุษยฉบับสมบูรณ์. กรุงเทพฯ: ธีระฟิล์มและไซเท็กซ์.

จีรภรณ์ ปฐมกุลนิธิ. (2546). การบริหารทรัพยากรมนุษย์ของบริษัทในนิคมอุตสาหกรรมในเขตกรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธ์ปริญญาบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต นนทบุรี มหาวิทยาลัยสุโขทยธรรมาธิราช.

นัทธยา ภูแย้มไสย์. (2550). การบริหารทรัพยากรมนุษย์ของโรงงานอุตสาหกรรมขนาดกลางในเขตจังหวดขอนแก่น. การศึกษาค้นคว้าอิสระ. มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.

สมยศ แย้มเผื่อน. (2551). ปัจจัยที่มีผลต่อประสิทธิภาพในการทำงำนของพนักงาน ปฏิบัติการบริษัท เอเชีย มารีน เซอร์วิส จำกัด (มหาชน). สารนิพนธ์ บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต (สาขาการจัดการ) บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ

ชุติภาส ชนะจิตต์. (2552). ความสัมพันธ์ระหว่างการจัดการทรัพยากรมนุษย์กับประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของพนักงานบริษัทในนิคมอุตสาหกรรมบางชัน กรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธ์. มหาวิทยาลัยธนบุรี.

ลักษณชัย ธนะวังน้อย. (2554). ความสัมพันธ์ระหว่างการจัดการทรัพยากรมนุษย์กับประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของพนักงานเครือเบทาโกร. วิทยานิพนธ์บริหารธุรกิจบัณฑิต, มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมมาธิราช.

ประเวศน์ มหารัตน์สกุล. (2550). การจัดการทรัพยากรมนุษย์มุ่งสู่อนาคต. กรุงเทพมหานคร. สานักพิมพ์พิมพ์ตะวัน.

สุทธิวรรณ ศรีสุพรรณ. (2550). ความผูกพันต่อองค์การ. เชียงใหม่ : มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

ณัช อุษาคณารักษ์. (2554). เส้นทางสร้างความผูกพันของพนักงาน. จาก http://www. hrcenter.co.th/ index.php?module=columns_detail&ColumnID=994.

ณปภัช นาคเจือทอง. (2553). การศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อแนวโน้มการลาออกของพนักงานในสวนอุตสาหกรรมโรจนะ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา. บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยกรุงเทพ.

ขวัญชัย พูลวิวัฒน์ชัยการ. (2556). ระบบการทำงานเป็นทีมทีส่งผลต่อประสิทธิภาพของการทำงานของพนักงานระดับปฏิบัติการ (ย่านสีลม). วิทยานิพนธ์บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต : มหาวิทยาลัยกรุงเทพ.

พิชญา วัฒนรังสรรค์. (2558). การเพิ่มประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของพนักงานโรงแรมระดับ 4 ดาวย่านสยามสแควร์.

อนันต์ชัย คงจันทร์. (2544). การจัดการทรพยากรมนุษย์ในองค์การธุรกิจไทยและธุรกิจข้ามชาติในประเทศไทย: การศึกษาเปรียบเทียบ. จาก http://dcms.thailis.or.th/ cms/browse.php?option=show&institute_code=90&bib=5529&doc_type=0

เดชากร แก่นเมือง. (2556). การบริหารทรัพยากรมนุษย์ขององค์กรปกครองส่วนทองถิ่นในอำเภอขนอม จังหวัดนครศรีธรรมราช .วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยขอนแก่น.

สมพงศ์ เกษมสิน. (2526). การบริหาร. (พิมพ์ครั้งที่ 8). กรุงเทพ ฯ: ไทยวัฒนาพาณิชย์.

สมพงศ์ เกษมสิน. (2534). การบริหารงานบุคคลแผนใหม่. กรุงเทพ ฯ: ไทยวัฒนาพาณิชย์.

รดา มณีพรายพรรณ. (2549). “ปัจจัยที่มีผลต่อประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของพนักงานในบริษัท ยู.อาร์. เคมีคอล จำกัด” หลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต (การจัดการ) มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

พรวรรณ จันทรสุข. (2547) “ปัจจัยที่่มีผลต่อประสิทธิภาพใน การปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่สำนักงานคลัง จังหวัด กรมบัญชีกลาง. [วิทยานิพนธ์ ปริญญามหาบัณฑิต] มหาวิทยาลัยบูรพา.

ดนัย เทียนพุฒ. (2543). การบริหารทรัพยากรบุคคลในทศวรรษหน้า. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย.

ณัฏฐพันธ์ เขจรนันท์. (2545). การจัดการทรัพยากรมนุษย์. กรุงเทพฯ: ซีเอ็ดยูเคชั่น.

สมใจ ลักษณะ. (2546). การพัฒนาประสิทธิภาพในการทำงาน (พิมพ์ครั้งที่ 3). กรุงเทพฯ: ธนธัชการพิมพ์. Millet, J. (1954) Management in the Public Service. New York: McGraw Hill Book Company.

ณองก์ แสงแก้ว. (2550). ประสิทธิผลการปฏิบัติงานในฝ่ายโยธา สำนักงานเขต กรุงเทพมหานครตามหลัก ธรรมาภิบาล. วิทยานิพนธ์ปริญญารัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต. สาขารัฐประศาสนศาสตร์. มหาวิทยาลัยราชภัฎพระนคร.

ขะธิณยา หล้าสุวงษ์. (2545). ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคล ภาวะผู้นำบารมีของหัวหน้าหอผู้ป่วย ความก้าวหน้าในอาชีพกับความจงรักภักดีต่อองค์การของพยาบาลประจำการ โรงพยาบาลชุมชน. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2019-07-01