การศึกษารูปแบบการพัฒนาฉลากผลิตภัณฑ์โดยใช้แนวคิดการมีส่วนร่วม
คำสำคัญ:
ฉลากผลิตภัณฑ์, แนวคิดการมีส่วนร่วมบทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาภาพลักษณ์ผลิตภัณฑ์และแนวคิดการมีส่วนร่วมมีอิทธิพลต่อการศึกษารูปแบบการพัฒนาฉลากผลิตภัณฑ์โดยใช้แนวคิดการมีส่วนร่วม (2) จัดทารูปแบบการพัฒนาฉลากผลิตภัณฑ์โดยใช้แนวคิดการมีส่วนร่วม กลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้ที่เข้าใช้บริการสถานพยาบาลของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกาแพงแสน จานวน 310 คน ผลการวิจัย พบว่า กลุ่มตัวอย่างเป็นเพศหญิง (ร้อยละ 57.10) ระดับการศึกษาปริญญาตรี (ร้อยละ 98.10) ชั้นปีที่ 2 (ร้อยละ 31.60) ความถี่ในการเข้าใช้บริการ 1-2 ครั้ง/เดือน (ร้อยละ 57.10) การทดสอบสมมติฐาน พบว่า ภาพลักษณ์ผลิตภัณฑ์ ด้านชื่อตราสินค้า ด้านตราสินค้า ด้านฉลากสินค้าและแนวคิดการมีส่วนร่วมมีอิทธิพลต่อการศึกษารูปแบบการพัฒนาฉลากผลิตภัณฑ์โดยใช้แนวคิดการมีส่วนร่วม อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05
References
คัมภีร์ ตันภูมิประเทศ และอังคณา เม้าพิมพ์พา. (2559). การศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการใช้ฉลากโภชนาการประกอบการซื้อผลิตภัณฑ์อาหารของนักเรียน อย. น้อยในจังหวัดตาก. วารสารอาหารและยา, 43-50.
งานอนามัย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกาแพงแสน. (2561). เจลประคบเย็น. (Online). http://bpv. psd.kps.ku.ac.th/v1/index.php/en-us/ lookbook /health. 17 กันยายน 2561.
ณัฐณิชา นิสัยสุข. (2556). ปัจจัยที่มีผลต่อพฤติกรรมการซื้อผลิตภัณฑ์ที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมของผู้บริโภค. วิทยานิพนธ์ปริญญาการจัดการมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี.
ธนวัฒน์ คาลีลานนท์. (2550). การมีส่วนร่วมของกรรมการชุมชนในการพัฒนาท้องถิ่น เทศบาลเมืองคูคต จังหวัดปทุมธานี. วิทยานิพนธ์รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร.
นรพงศ์ กิ่งศักดิ์. (2556). การศึกษาและพัฒนารูปแบบบรรจุภัณฑ์ผลิตภัณฑ์กล้วยแปรรูปชนิดอบแห้งจากวัสดุธรรมชาติ กรณีศึกษา วัสดุจากเปลือกกล้วย จังหวัดพิษณุโลก. วิทยานิพนธ์ปริญญาศิลปกรรมศาสตรมหาบัณฑิต บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัย ศรีนครินทรวิโรฒ.
บุษราภรณ์ มหัทธนชัย. (2552). การพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อส่งเสริมผลิตภัณฑ์ OTOP ของตาบลสะลวง อาเภอแม่ริม จังหวัดเชียงใหม่. กรุงเทพมหานคร: สานักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ.
ประชิด ทิณบุตร. (2557). การออกแบบพัฒนาบรรจุภัณฑ์สินค้าการเกษตรของวิสาหกิจชุมชน จังหวัดชัยนาท เพื่อพัฒนาขีดความสามารถในการแข่งขันที่มีประสิทธิภาพตามแนวคิดเศรษฐกิจสร้างสรรค์. วารสาร ศิลปกรรมสาร คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัย ธรรมศาสตร์ 9(2): 65-86.
ปรีดา เจษฎาวรางกุล. (2550). การมีส่วนร่วมของกรรม การชุมชนในการพัฒนาชุมชนในเขตเทศบาลเมืองคูคต อาเภอลาลูกกา จังหวัดปทุมธานี. วิทยานิพนธ์รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการปกครองท้องถิ่น มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
ปัณณ์ณัช ธนัทพรรษรัตน์ และฉันทนา สุรัสวดี. (2558). การพัฒนารูปแบบผลิตภัณฑ์สินค้าชุมชนโดยใช้วิธีการวิจัยปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม กรณีศึกษา: ผลิตภัณฑ์ของใช้ในครัวเรือน บ้านคลองเดื่อพัฒนา ตาบลท่ามะนาว อาเภอชัยบาดาล จังหวัดลพบุรี. วารสารวิจัยเพื่อการพัฒนาเชิงพื้นที่ 7(3): กรกฎาคม-กันยายน.
ศูนย์เรียนรู้สุขภาวะ. (2561). เจลประคบเย็นกับการใช้งานที่ถูกวิธี.(Online). www. thaihealth.or.th. 17 กันยายน 2561.
สุดาพร กุณฑลบุตร. (2552). หลักการตลาด (สมัยใหม่). กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
อัญชนา พงษ์สุวินัย. (2557). ปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจซื้ออาหารสาเร็จรูปแช่แข็งที่มีต่อฉลากบรรจุภัณฑ์ของนิสิตปริญญาตรี ที่อยู่หอพักมหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์ วิยาเขตบางเขน. วิทยานิพนธ์ปริญญาธุรกิจมหาบัณฑิต บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร.
Aladin Plaza. (2018). ฉลากสินค้า ต้องระบุ อะไรบ้าง. (Online). https://www. aladinplaza.com/ pageconfig/ viewcontent/viewcontent1.asp?pageid=3107&directory=15165&contents=50910. 17 กันยายน 2561
Cohen J. M. & Uphoff N. T. (1980). Participations place in rural development: Seeking clarity though specificity. New York: World Development.
Tomco. (2017). ฉลากสินค้าบนผลิตภัณฑ์ สาคัญอย่างไรต่อผู้บริโภค. (Online). https://tomco.co.th/2017/12/29/ฉลาก-บนผลิตภัณฑ์/. 17 กันยายน 2561.
William Erwin. (1976). Participation Management: Concept Theory and Implementation. Atlanta G: Georgia State University.
Yamane Taro. (1967). Statistic: An Introductory Analysis. New York: Harpe & row.