การจัดการความรู้ประวัติศาสตร์สูญหายการเสด็จประพาสต้นของรัชกาลที่ 5 ณ วัดหนอง แขม: รากแก้วสยามอารยะ สู่ยุครัฐนิยม

ผู้แต่ง

  • วราลี จิเนราวัต ดร.

คำสำคัญ:

วัดหนองแขม,, ประวัติศาสตร, รัชกาลที่5, การจัดการความร

บทคัดย่อ

งานวิจัยเชิงประวัติศาสตร์นี้มี วัตถุประสงค์เพื่อ 1)เพื่อศึกษาสืบค้นและเก็บรวบรวมฐานความรู้ข้อมูลประวัติศาสตร์บรรพบุรุษที่สูญหายชุมชนวัดหนองแขมด้านแนวคิด ค่านิยม ช่วงรัชกาลที่ 5 เสด็จประพาสต้นที่ได้สยามภิวัฒน์ (Modernization) และส่งต่อมายังบุตรหลานผู้นำชุมชนในช่วงนโยบายรัฐนิยม พ.ศ.2481 และสงครามโลกครั้งที่ 2) เพื่อศึกษาสภาพการจัดการความรู้ของชุมชนชุมชนวัดหนองแขม ด้านประวัติศาสตร์วัฒนธรรมสร้างสรรค์สำหรับชุมชนการท่องเที่ยวและทางปัญญา ระเบียบวิธีการวิจัย ผู้วิจัยดำเนินงาน 4 ขั้นตอนการสืบสอบหาประวัติศาสตร์ที่สูญหายเลือกประเด็น สอบทาน กลั่นกรองและสกัดตรวจสอบ เพื่อจัดทำองค์ความรู้ที่สูญหายและกระจัดกระจายไว้ในฐานความรู้ ผลการวิจัยสมมติฐานข้อที่ 1 พบว่า องค์ความรู้ทางประวัติศาสตร์ที่ชุมชนวัดหนองแขมที่สูญหายในช่วงรัชกาลที่ 5 เสด็จประพาสต้น และวัฒนธรรมนี้เป็นรากแก้วมีผลต่อ อย่างกลมกลืนกับแนวคิดวิถีชีวิตตะวันตกสากล อิทธิพลดังกล่าวส่งผลต่อกลุ่มบุตรหลานผู้นำชุมชนที่เป็นรอยัลลิสต์รุ่นต่อๆมา ให้ความเคารพต่อพระมหากษัตริย์อย่างสูง และสามารถสามัคคีรวมเข้ากับ รัฐนิยมไทย และวัฒนธรรมสากลตะวันตกในสมัยพลเอกพิบูลสงครามในปี พ.ศ. 2481 และอาสาเป็นเสรีไทยและผู้สนับสนุนเสรีไทยสงครามโลกครั้งที่ 2 ด้วยความเต็มใจ

ผลการวิจัยสมมติฐานข้อที่ 2 พบว่า องค์ความรู้ 13 ประเด็นทางประวัติศาสตร์ ซึ่งเป็นโมเดลสากลในการพัฒนาการจัดการความรู้ที่พบข้อจำกัด ด้านเทคโนโลยีที่สนับสนุน การจัดการความรู้แบบ 3.0 และ 4.0 และการสอบทานความรู้เชิงประวัติศาสตร์

References

จดหมายเหตุหนองแขม. (2560). อาคารสำนักงานเขตหนองแขม (เก่า) พ.ศ.2481. สืบค้นจาก https://ar-ar.facebook.com/426169074414558/posts/426174017747397
จดหมายเหตุหนองแขม. (2560). ประวัติหลวงเพชรเกษมวิถีสวัสดิ์ (แถม เพชรเกษม) การศึกษาชั้นมูลและเสรีไทย. สืบค้นจาก https://www.facebook.com/426169074414558/posts/427525524278913/
เจตนา นาควัชระ. (2503). อันเพลงไทยใช่จะไร้ในคุณค่า. พิมพ์เป็นอนุสรณ์ในงานพระราชทานเพลิงศพ นายถนอม นาควัชระ ณ วัดมกุฎกษัตริยาราม. พระนคร : โรงพิมพ์ไทยวัฒนาพานิช.
จุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว, พระบาทสมเด็จ. (2527). จดหมายเหตุ พระราชกิจรายวันฯ พุทธศักราช (2446-2447). กรุงเทพฯ : กรุงสยามการพิมพ์.
จุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว, พระบาทสมเด็จ. (2553). การเสด็จประพาสต้น เสด็จประพาสต้นในรัชกาลที่ 5 (2396-2453). กรุงเทพ : โรงพิมพ์กรมสรรพสามิต (พิมพ์ครั้งที่ 16).
ดรุณกิจวิทูร, หลวงและขำ ฉันท์วิไล. (2499). แบบเรียนเร็วใหม่. สืบค้นจาก http://webhtml.horhook.com/ebook/thai2499.htm.
ดำรงราชานุภาพ, สมเด็จฯกรมพระยา. (2539). เสด็จประพาสต้น. กรุงเทพฯ: บรรณกิจเทรดดิ้ง.
ดำรงราชานุภาพ, สมเด็จฯกรมพระยา. (2460). บันทึกการเสด็จประพาสต้น. กรุงเทพฯ: บรรณกิจเทรดดิ้ง.
ตรงใจ หุตางกูรและ นัทกฤษ ยอดราช. (2560). ตามหาจารึกเสาหลักเส้นที่ 0, 100, 200 และ 300 ของคลองภาษีเจริญ. สืบค้นจาก https://www.sac.or.th/main/th/article/detail/78.
ณัฐฐานิตย์ คะเชนทร์. (2558). การออกแบบผังเมืองสมัยจอมพล ป.พิบูลสงคราม (พ.ศ.2475-2487) : ลพบุรี,สระบุรีและเพชรบูรณ์. (วิทยานิพนธ์หลักสูตรปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต) มหาวิทยาลัยศิลปากร.
ทีนิวส์. (2561). จอมพลแปลก รอดชีวิตอย่างอัศจรรย์ด้วยมีดหมอสามกษัตริย์ของหลวงพ่อเดิม. สืบค้นจาก https://www.tnews.co.th/religion/470968/.
ไทยรัฐออนไลน์. (16 ธันวาคม 2561). โรงพักชุมชนหนองแขม. สืบค้นจาก https://www.thairath.co.th/news/local/1445701.
บัณฑิต จุลาสัย – รัชดา โชติพานิช. (2562). เขตคลองภาษีเจริญ : แผนที่เส้นทางน้ำ. สืบค้นจากhttps://www.matichon.co.th/columnists/news_1628205.
ปิยวรรณ อัศวราชันย์. (2481). ความคิดของผู้นำและกิจกรรมของหญิงไทยในสมัย สงครามโลกครั้งที่ 2 ภายใต้เงากองทัพญี่ปุ่น. JSN Journal, 2 (1), หน้า. 1-19.
พิพิธภัณฑ์กรมตำรวจ. (2561). โรงพักเก่า สรรพยา ชัยนาท. สืบค้นจาก https://thailandtourismdirectory.go.th/.../itemid/81181.
พิพิธภัณฑ์กรมตำรวจ. (2561). ประวัติกรมตำรวจ. สืบค้นจาก https://sites.google.com/site/mohdalfatih5920210175/topic-2.
พิพิธภัณฑ์ธงชาติไทย. (2554). ทำนองเพลงชาติ ไม่ใช่เพลงชาติไทย พ.ศ. 2481 ฉบับหลวง ดรุณกิจวิทูร และ ขำ ฉันท์วิไล. สืบค้นจากhttps://www.youtube.com/watch?v=PAT-Kp2qkcQ.
หอสมุดดำรงราชานุภาพ. (2543). ประวัติ สมเด็จฯ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ. สืบค้นจาก http://www.stabundamrong.go.th/web/journal/j43.pdf.
วรรณศิลป์ พีรพันธุ์. (2549). ตามรอยเสด็จประพาสต้น จังหวัดสมุทรสงคราม-อัมพวา. วารสารวิชาการคณะ สถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. 57 (2): หน้า 6-30.
สมใจ นิ่มเล็ก, ราชบัณฑิต. (2555). ตลาดของชาวสวนฝั่งธนบุรี ในความทรงจำของลูกชาวสวน. สืบค้นจาก https://www.silpa-mag.com/culture/article_5632.
สรินนา อ้นบุตร. (2563). เดินชมชานเมืองกรุง- ล่องเรือชมสวนจำปี เขตหนองแขม. สืบค้นจาก
https://www.technologychaoban.com/bullet-news-today/article_93518.
สุรสิทธิ์ อมรวณิชศักดิ์. (2563). รูปเคารพเจิ้งเหอในสังคมไทย. วารสารศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. 20(2), 22-52.
สำนักงานบริหารและพัฒนาองค์ความรู้ (องค์การมหาชน). (2560). การจัดการความรู้คือ อะไร. สืบค้นจาก http://www.okmd.or.th/upload/pdf/chapter1_kc.pdf.
ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน). (2561). สาครบุรี จากวิธีชาวบ้าน. สืบค้นจากhttp://thesis.swu.ac.th/swuebook/A420792.pdf.
อานันท์ นาคคง. (2554). เพลงทำนองเพลงชาติ พ.ศ. 2481 การปฏิวัติวัฒนธรรม โดยจอมแปลก พิบูลสงคราม. สืบค้นจาก http://youtu.be/PAT-Kp2qkcQ).
__________ (2560). โรงพักเก่าสรรพยา (โรงพักเก่า ร.ศ. 120). ttps://thailandtourismdirectory.go.th/.../itemid/81181.
__________ .(2552). จอมพล ป. พยายามให้คนไทยเลิกเชื่อไสยศาสตร์. สืบค้นจากhttp://topicstock.pantip.com/library/topicstock/2009/01/K7399076/K7399076.html.
__________(Xxx). เอกสารนามสกุลพระราชทานปี พ.ศ. 2455. สืบค้นจาก http://www.phyathaipalace.org.
References
Chankrajang, T. and Vechbanyongratana, J. (2020). Canals and Orchards: The Impact of Transport Network Access on Agricultural Productivity in Nineteenth-Century Bangkok. Bangkok: The Journal of Economic History, 80 (4), pp. 996 – 1030. DOI: https://doi.org/10.1017/S0022050720000509.
Hall, C. & Piggin, R. (2002). Tourism business knowledge of World Heritage sites: A New Zealand case study. International Journal of Tourism Research. 4 (x). 401 - 411.
Han, T.B. (2000). King of the Water:King Chulalongkorn. Bangkok: silkwormbook.
Kasetsart University ORSTOM. 1996. (1996). Agricultural and irrigation patterns in The Central Plain of Thailand 1919-1960. Bangkok: Kasetsart University.
National Academies of Sciences, Engineering, and Medicine. (2017). Knowledge Management Resource to Support Strategic Workforce Development for Transit Agencies. Washington, DC: The National Academies Press. https://doi.org/10.17226/24961.
Ouyyanont, P. (2018). A Regional Economic History of Thailand. Bangkok: Morphant ISEAS Publishing and Chulalongkorn University Press.
United Nations. (1871). Nongkhaem’s population growth and policy in 1880. New York: Department of International Economics and Social affairs. pp.10.
ผู้ให้สัมภาษณ์
นางพาสนา จิเนราวัต. (2562). ประวัติศาสตร์ความสัมพันธ์เกี่ยวกับวิถีชีวิตหลวงดรุณกิจวิทูร (ชด เมนะโพธิ์) และความสัมพันธ์บรรพบุรุษตำรวจกรมการโปลิศไทย ทหารไทยและคนชนในชุมวัดหนองแขม ตั้งแต่สมัย ร.ศ.123. วันที่ 1 กรกฎาคม 2562.
นายชัยวัฒน์ พัฒนเจริญ, ประธาน กก.ตร.สน.หนองแขม. (2563) เรื่องการอนุรักษ์ สถานที่เชิงประวัติศาสตร์ เพื่อการพัฒนาศูนย์การเรียนรู้และสมาชิกชุมชนอย่างยั่งยืน. วันที่ 28 มิถุนายน 2563.
นางนิตยา วิยาภรณ์. (2563). พระราชปฏิสันถารกับประชาชนที่มารอรับเสด็จตรัสถามทุกข์สุขของชาวบ้าน ครั้งที่เสด็จประพาสต้น ณ วัดหนองแขม. วันที่ 28 สิงหาคม 2563.
นายประยูร วงค์พุทธคำ, หัวหน้าฝ่ายพัฒนาชุมชน เขตหนองแขม. (2563). หมุดโฉนดโครงการพระราชดำริและแหล่งแผนที่ผู้รู้ประวัติศาสตร์วัฒนธรรมในชุมชน. วันที่ 23 ตุลาคม 2562.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2021-06-24