ความสอดคล้องของหลักการทางวิทยาศาสตร์กับธรรมนิยาม
คำสำคัญ:
ความสอดคล้อง, วิทยาศาสตร์, ธรรมนิยามบทคัดย่อ
บทความวิชาการนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาความสอดคล้องของวิทยาศาสตร์กับพระพุทธศาสนา เน้นเฉพาะการเข้าถึงความจริงตามหลักธรรมนิยาม โดยศึกษาข้อมูลจากพระไตรปิฎก หนังสือและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง จากการศึกษาพบว่า หลักการค้นหาความจริงระหว่างวิทยาศาสตร์กับธรรมนิยามนั้นมีความสอดคล้องกันอยู่บางประเด็น คืออุตุนิยามกับพีชนิยาม แต่ให้ความสำคัญต่างกัน กล่าวคือพระพุทธศาสนาเน้นในส่วนที่เป็นนามธรรมที่เกี่ยวกับจิตตนิยามและธรรมนิยาม พระองค์ทรงสอนเรื่องอุตุนิยามและพีชนิยามเพียงเล็กน้อย ส่วนนักวิทยาศาสตร์เน้นในส่วนเหตุผลทางรูปธรรมที่เกี่ยวกับอุตุนิยามและพีชนิยาม แต่สนใจในธรรมนิยามและจิตตนิยามเล็กน้อย
References
เดือน คําดี. (2541). ศาสนศาสตร์. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
ทินพันธุ์ นาคะตะ. (2542). พุทธธรรมกับวิทยาศาสตร์. กรุงเทพฯ: หจก. สหายบล็อกและการพิมพ์.
ธนู แก้วโอภาส. (2547). ไอน์สไตน์ในพุทธปรัชญา. กรุงเทพฯ: สุขภาพใจ.
บุญมี แท่นแก้ว และคณะ. (2538). พุทธศาสน์. กรุงเทพฯ: โอเดียนสโตร์.
ปรีชา ช้างขวัญยืน และสมภาร พรมทา. (2547). มนุษย์กับศาสนา. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
พร รัตนสุวรรณ. (2536). พระพุทธศาสนากับวิทยาศาสตร์. กรุงเทพฯ: สํานักค้นคว้าทางวิญญาณ.
วนิดา ยุตินาถ. และบุญสนอง พึ่งสุข. (2539). หลักวิทยาศาสตร์. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แม็ค จำกัด.
สมภาร พรมทา. (2540). พุทธศาสนากับวิทยาศาสตร์. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
อโณทัย อาตมา. (2544). รู้นิพพานประสาชาวบ้าน. กรุงเทพฯ: สุขภาพใจ.
อำนาจ เจริญศิลป์. (2545). วิทยาศาสตร์กับศาสนา. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์รุ่งแสง.
A.T.Collect and Eugene Chiappetta. (1986). Science introduction in the Middle and Secondary Schools. Columbia. Ohio : Charles E. Merrill Publishing Company.
Pamela J. James William Tankard and Dominic L. Lasorsa. (2004). How to build Social Science Theories. London : Sag Publication.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
Versions
- 2022-01-27 (2)
- 2022-01-04 (1)