อิทธิพลของมาตรฐานคุณภาพแหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตร และการจัดการแหล่งท่องเที่ยว ที่ส่งผลต่อความยั่งยืนของแหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตร
คำสำคัญ:
มาตรฐานคุณภาพ, การจัดการแหล่งท่องเที่ยว, ความยั่งยืน, แหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตรบทคัดย่อ
งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาอิทธิพลของมาตรฐานคุณภาพแหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตรและการจัดการแหล่งท่องเที่ยวที่ส่งผลต่อความยั่งยืนของแหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตร เป็นงานวิจัยเชิงปริมาณ กลุ่มตัวอย่างคือ ผู้ประกอบการแหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตร จำนวน 264 ราย สุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเชิงพรรณนา คือ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติเชิงอนุมาน คือ วิเคราะห์ความถดถอยแบบพหุ
ผลการวิจัย พบว่า ปัจจัยด้านมาตรฐานคุณภาพแหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตรส่งผลต่อความยั่งยืนของแหล่งท่องเที่ยวการเกษตร สามารถร่วมกันพยากรณ์ได้ร้อยละ 81.6 ด้านที่ส่งผลมากที่สุดคือ ด้านศักยภาพการดึงดูดใจของแหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตร รองลงมา คือ ด้านศักยภาพการบริหารจัดการแหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตร ด้านองค์ความรู้ นวัตกรรมและภูมิปัญญา ด้านศักยภาพการบริการท่องเที่ยวของแหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตร และคุณค่าทางกายภาพและชีวภาพ ตามลำดับ
ปัจจัยด้านการจัดการแหล่งท่องเที่ยวส่งผลต่อความยั่งยืนของแหล่งท่องเที่ยวการเกษตรสามารถร่วมกันพยากรณ์ได้ร้อยละ 79.5 ด้านที่ส่งผลมากที่สุด คือ ด้านการเพิ่มผลประโยชน์และลดผลกระทบเชิงลบทางสิ่งแวดล้อม รองลงมาคือ ด้านการบริหารจัดการความยั่งยืนที่มีประสิทธิภาพ การเพิ่มผลประโยชน์และลดผลกระทบเชิงลบทางวัฒนธรรมแก่ชุมชนและนักท่องเที่ยว และการเพิ่มผลประโยชน์และลดผลกระทบเชิงลบทางสังคมและเศรษฐกิจแก่ชุมชนท้องถิ่น ตามลำดับ
References
กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา. (2557ก). คู่มือการตรวจประเมินมาตรฐานคุณภาพการท่องเที่ยวเชิงเกษตร.
(พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: องค์การส่งเคราะห์ทหารผ่านศึกในพระบรมราชูปถัมภ์.
กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา. (2559ข). โครงการทิศทางการพัฒนาท่องเที่ยวของประเทศไทยในระยะ 10 ปี.
สืบค้นจาก https://secretary.mots.go.th/ewtadmin/ewt
/policy/article_attach/02FinalReportDirection10Year.pdf.
กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา. (2562ค). โครงการเพื่อการส่งเสริมการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน. สืบค้นจากhttps://mots.go.th/ewt_dl_link.php?nid=12288.
กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา. (2563ง). COVID-19 กับผลกระทบต่อการท่องเที่ยวไทย. สืบค้นจาก https://www.mots.go.th/download/TourismEconomicReport/41TourismEconomicVol4.pdf.
กรมส่งเสริมการเกษตร. (2563). ฐานข้อมูลผู้ประกอบการท่องเที่ยวเชิงเกษตร. สืบค้นจากhttp://agrotourism.doae.go.th/.
กัลยา วานิชย์บัญชา. (2558). สถิติสำหรับงานวิจัย. (พิมพ์ครั้งที่ 9). กรุงเทพฯ: สามลดา.
จีรนันท์ เขิมขันธ์. (2561). มุมมองของการพัฒนาภาคการท่องเที่ยวเชิงเกษตรในประเทศไทย. วารสารเกษตรพระจอมเกล้า 2561:36(2), 162-167. สืบค้นจาก https://li01.tci-thaijo.org/index.php/agritechjournal
/article/view/159663/115414.
ณัฏฐวุฒิ ทรัพย์อุปถัมภ์. (2558). เอกสารประกอบการสอน รายวิชาภูมิปัญญาเพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิต.
คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี. สืบค้นจาก http://www.academy.rbru.ac.th/uploadfiles/books/58-2018-08-01-08-35-18.pdf.
นุชประวีณ์ ลิขิตศรัณย์. (2562). ผลกระทบทางการท่องเที่ยวต่อชุมชนรอบบริเวณอุทยานแห่งชาติพุเตย
จังหวัดสุพรรณบุรี. วารสารวิทยาศาสตร์การกีฬาและสุขภาพ. 20(2), 139-150. สืบค้นจาก https://he02.tci-thaijo.org/index.php/spsc_journal/article/view/240461/163894.
บุรณิน รัตนสมบัติ. (2557). การพัฒนาตัวแบบเชิงกลยุทธ์การจัดการธุรกิจอย่างยั่งยืนในอนาคตของวิสาหกิจขนาดใหญ่ (วิทยานิพนธ์ปริญญาปรัชญาดุษฎีบัณฑิต, มหาวิทยาลัยศิลปากรม, กรุงเพทฯ). สืบค้นจาก http://www.thapra.lib.su.ac.th /objects/thesis/fulltext /snamcn/Buranin_Rattanasombat
_Doctor/fulltext.pdf.
ใบเฟิร์น วงษ์บัวงาม และมุขสุดา พูลสวัสดิ์. (2556). การประเมินศักยภาพแหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตรโครงการที่ได้รับการประกวดผลงานตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงภาคการเกษตรในเขตกรุงเทพและปริมณฑล. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร. สืบค้นจาก https://repository.rmutp.ac.th/xmlui /bitstream/handle/123456789/1917/LARTS_58_06.pdf?sequence=1&isAllowed=y.
ปัญญาดา นาดี. (2561). การพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงเกษตรสู่ความยั่งยืน. วารสารมหาวิทยาลัยอิสเทิร์นเอเชีย ฉบับสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์. 8(2), 113-124. สืบค้นจาก https://so01.tci- thaijo.org /index.php/EAUHJSocSci/article/view/130771.
เพียงฤทัย เสงี่ยมศิลป์ และคณะ. (2561). การศึกษาแนวทางการส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงเกษตรตำบลวังยาว อำเภอศรีประจันต์ จังหวัดสุพรรณบุรี. สืบค้นจาก http://www.rdi.rmutsb.ac.th/2011/download/n60/6.pdf.
รัฐนนท์ พงศ์วิริทธิ์ธร. (2558). แนวทางการพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงเกษตรเพื่อความยั่งยืน: โครงการหลวง
ปางดะ. วารสารเทคโนโลยีสุรนารี. 9(1) ;19-35. สืบค้นจาก https://www.journal.nu.ac.th
/NUJST/article/view/395.
รสดา เวษฎาพันธุ์ และสุมาลี สันติพลวุฒิ. (2561, กุมภาพันธ์). แนวทางการพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน
ในจังหวัดลพบุรี. ใน สุทธิพันธุ์ แก้วสมพงษ์ (บ.ก.), ศาสตร์เกษตรสู่เศรษฐกิจสร้างสรรค์. การประชุมทางวิชาการ ครั้งที่ 56 สาขาเศรษฐศาสตร์และบริหารธุรกิจ. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ (น. 360-370). สืบค้นจาก https://kukrdb.lib.ku.ac.th/proceedings/kucon/search_detail/result/382860.
เสรี วรพงษ์. (2557). สิ่งแวดล้อมกับการพัฒนาที่ยั่งยืน. INTEGRATED SOCIAL SCIENCE JOURNAL, FACULTY OF SOCIAL SCIENCES AND HUMANITIES, MAHIDOL UNIVERSITY, 1(1), 170–185.
สืบค้นจาก https://so02.tcithaijo.org/index.php/isshmu/article/view/145918/107656.
อุษารดี ภู่มาลี และกนิษฐา แย้มโพธิ์ใช้. (2563). ศักยภาพของชุมชนเกษตร จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
เพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงเกษตร. ใน สุทธิพันธุ์ แก้วสมพงษ์ (บรรณาธิการ), นวัตกรรม สร้างสรรค์ไทย เพื่อเป้าหมายในการพัฒนาอย่างยั่งยืน. การประชุมวิชาการ ครั้งที่ 58 (หน้า 402-409). มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. สืบค้นจาก
https://kukrdb.lib.ku.ac.th/proceedings/kucon/search_detail/result/408872.
องค์การบริหารการพัฒนาพื้นที่พิเศษเพื่อการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน (อพท.) และ Global Sustainable Tourism Councial). (2559). เอกสารจากการสัมมนา Global Sustainable Tourism Criteria. สืบค้นจาก https://dputhp.files.wordpress.com/2016/08/gstc.pdf.
Fortune Business Insights Pvt. Ltd. (2020). The global agritourism market size was valued at $69.24 Billion in 2019 & is projected to reach $117.37 Billion by 2027, with a CAGR of 7.42% during the forecast period. Retrieved from https://www.fortunebusinessinsights.com
/agritourism-market-103297.
Global Sustainable Tourism Council. (2019). GSTC Destination Criteria Version 2.0. Retrieved from https://www.gstcouncil.org/wp-content/uploads/GSTC-Destination-Criteria-v2.0.pdf.
Jagdale, U. G., Gawali, S. B. & Sabale, K. D. (2014). A GEOGRAPHICAL STUDY OF AGRO-TOURISM IN JUNNAR TAHSIL WITH SPECIAL REFERENCE TO PARASHAR AGRO-TOURISM CENTRE. International Journal of Advance and Applied Research (IJAAR). 1(3). Retrieved from https://ijaar.co.in/wp-content/uploads/2021/07/010308.pdf.
Juniarta, P. A. K. (2018). Community Service of Agro Tourism In Sibetan Village. International Journal of Community Service Learning. 3(1), 18-25. Retrieved from https://ejournal.undiksha.ac.id
/index.php/IJCSL.
Kazlouski, V., Ganski, U., Platonenka, A., Vitun, S., & Sabalenka, I. (2020). Sustainable Development Modeling of Agritourism Clusters. Management Theory and Studies for Rural Business and Infrastructure Development. 42(2), 118-127. Retrieved from https://ejournals.vdu.lt/index.php/mtsrbid/article/view/653.
Roman, M., Roman, M., & Prus, P. (2020). Innovations in Agritourism: Evidence from a Region in Poland. Sustainability. 12(12), 1-21. Retrieved from https://www.mdpi.com/2071-1050/12/12/4858.
The Farm-Based Education Network. (2019). A Guide to Successful Agritourism Enterprises. Shelburne Farms, University of Vermont Extension. Retrieved from https://www.uvm.edu/
sites/default/files/Vermont-Agritourism-Collaborative/2019_BestPracticesAgritourism-FINALDRAFT-lores.pdf.
The World Tourism Organization. (2019a). International Tourism Highlights 2019 Edition. Retrieved from https://www.e-unwto.org/doi/pdf/10.18111/9789284421152.
The World Tourism Organization. (2020b). INTERNATIONAL TOURIST ARRIVALS COULD FALL BY 20-30% IN 2020. Retrieved from https://www.unwto.org/news/international-tourism-arrivals-could-fall-in-2020
Thi, N. Q., Tuyen, H. V., Linh, N. T., Viet, D. H., & Mai Anh, T. T. (2020). POTENTIAL OF AGRI-TOURISM IN VO NHAI DISTRICT, THAI NGUYEN PROVINCE. TNU Journal of Science and Technology. 225(03), 133–142.Retrieved from https://www.researchgate.net
/profile/Nguyen-Thi-18/publication/340559980_POTENTIAL_OF_AGRI-TOURISM_IN_VO_NHAI_DISTRICT_THAI_NGUYEN_PROVINCE/links/5e9c8e1f92851c2f52b26cbd/POTENTIAL-OF-AGRI-TOURISM-IN-VO-NHAI-DISTRICT-THAI-NGUYEN-PROVINCE.pdf.
Tsai, C., Wu, T., Wall, G., & Linliu, S. (2016). Perceptions of tourism impacts and community resilience to natural disasters, Tourism Geographies, 18(2), 152-173. Retrieved from https://doi.org/10.1080/
2016.1149875.
Tseng, M., Chang, C., Wu, K. Remen Lin, C., Kalnaovkul, B., & Tan. R. (2019). Sustainable Agritourism in Thailand: Modeling Business Performance and Environmental Sustainability under Uncertainty. Sustainability. 11(15), 4087. Retrieved from https://doi.org/10.3390/su11154087.
World Health Organization. (2019). WHO Director-General's opening remarks at the media briefing on COVID-19 - 11 March 2020. Retrieved from https://www.who.int/director-general/speeches/detail/who-director-general-s-opening-remarks-at-the-media-briefing-on-covid-19---11-march-2020.
Yamane, T. (1967). Statistics: An Introductory Analysis. (2nd ed.) Harper and Row, New York.