การคุ้มครองผู้บริโภคผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร : มิติการกำกับดูแลด้านมาตรฐานความปลอดภัยและการโฆษณา
คำสำคัญ:
คุ้มครองผู้บริโภค, ผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร, มาตรการควบคุมอาหารบทคัดย่อ
บทความนี้จะกล่าวถึงแนวคิดที่เกี่ยวข้องกับการคุ้มครองผู้บริโภคผลิตภัณฑ์เสริมอาหารภายใต้ พ.ร.บ.อาหาร พ.ศ. 2522 ในมิติการกำกับดูแลด้านมาตรฐานความปลอดภัยและการโฆษณา รวมถึงปัญหาในการกำกับดูแลและข้อเสนอแนะในการปรับปรุงแก้ไข โดยแบ่งออกเป็น 3 ส่วน คือ ส่วนที่ 1 : แนวคิดเกี่ยวกับการคุ้มครองผู้บริโภคผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร ความหมายของผู้บริโภคและการคุ้มครองผู้บริโภค สิทธิหน้าที่ของผู้บริโภค องค์กรที่เกี่ยวข้องในการคุ้มครองผู้บริโภคด้านอาหาร ความหมายและประเภทของผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร ส่วนที่ 2 : การกำกับดูแลผลิตภัณฑ์เสริมอาหารด้านมาตรฐานความปลอดภัยและการโฆษณา และส่วนที่ 3 : ปัญหาและข้อเสนอแนะในการกำกับดูแลผลิตภัณฑ์เสริมอาหารด้านมาตรฐานความปลอดภัยและการโฆษณา
References
กมลทิพย์ แจ่มกระจ่าง. (2547). การศึกษาบทบาทและการดำเนินงานของเทศบาลในการคุ้มครองผู้บริโภค. สืบค้นเมื่อ 25 ธันวาคม 2566 จาก http://library.nhrc.or.th/ULIB/dublin.php?ID=3055
กองอาหาร. (2566). ประกาศกระทรวงสาธารณสุข ฉบับที่ 293 พ.ศ.2548 เรื่อง ผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร. สืบค้นเมื่อ 23 ธันวาคม 2566 จาก https://food.fda.moph.go.th/media.php?id =510389845215027200&name=Compi293.pdf
ทิพย์วรรณ ปริญญาศิริ, อรสุรางค์ ธีระวัฒน์ และ รัชตา พงศ์รุจิกร. (2562). การคุ้มครองผู้บริโภคกับอาหารที่มีวัตถุประสงค์พิเศษและผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร. ในเอกสารการสอนชุดวิชาพฤติกรรมผู้บริโภคและการคุ้มครองด้านอาหารและโภชนาการ (หน่วยที่ 8, หน้า 1-44). นนทบุรี: สาขาวิชามนุษยนิเวศศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
ทิพย์วรรณ ปริญญาศิริ และจารุณี วงศ์เล็ก. (2562). บทบาทของภาครัฐในการออกมาตรฐานอาหารและกำกับดูแลก่อนออกตลาด. ในเอกสารการสอนชุดวิชาพฤติกรรมผู้บริโภคและการคุ้มครองด้านอาหารและโภชนาการ (หน่วยที่ 6, หน้า 1-13). นนทบุรี: สาขาวิชามนุษยนิเวศศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
ทีมวิชาการสุขภาพคนไทย และสถาพร อารักษ์วทนะ. (2565). โฆษณาอาหารเสริมเกินจริงควรแก้ปัญหาอย่างไรตอนที่ 1. สืบค้นเมื่อ 26 ธันวาคม 2566 จาก https://www.thaihealthreport.com/th/ articles_detail.php?id=109
เทวี โพธิผละ. (2562). การคุ้มครองผู้บริโภค. ในเอกสารการสอนชุดวิชาพฤติกรรมผู้บริโภคและการคุ้มครองด้านอาหารและโภชนาการ (หน่วยที่ 1, หน้า 17-19). นนทบุรี: สาขาวิชามนุษยนิเวศศาสตร์ มหาวิทยาลัย สุโขทัยธรรมาธิราช.
เทวี โพธิผละ. (2562). บทบาทของเครือข่ายการคุ้มครองผู้บริโภค. ในเอกสารการสอนชุดวิชาพฤติกรรมผู้บริโภคและการคุ้มครองด้านอาหารและโภชนาการ (หน่วยที่ 10, หน้า 1-57). นนทบุรี: สาขาวิชามนุษยนิเวศศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
ธนพงศ์ ภูผาลี. (2564). การวิเคราะห์ทางกฎหมายในการควบคุมการโฆษณาผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร.วิทยานิพนธ์ นิติศาสตร์มหาบัณฑิต. สาขานิติศาสตร์ คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, นนทบุรี.
ธนัชพร กังสังข์. (2565). การคุ้มครองผู้บริโภคจากการโฆษณาขายผลิตภัณฑ์เสริมอาหารบนสื่อออนไลน์. วารสารกฎหมายและนโยบายสาธารณสุข, 9(1), หน้า 97-107.
นนทวัชร์ นวตระกูลพิสุทธิ์. (2563). กฎหมายคุ้มครองผู้บริโภค. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
ปณต ประพันธ์ศิลป์. (2560). รู้จักรู้จริงเรื่องอาหารเสริมจากปากคำของผู้เชี่ยวชาญ. สืบค้นเมื่อ 23 ธันวาคม 2566 จาก https://www.seedoctornow.com/all-you-need-to-know-about-supplement-supplement/
พระราชบัญญัติ คุ้มครองผู้บริโภค (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2522. (2562, 27 พฤษภาคม). ราชกิจจานุเบกษา. เล่มที่ 136 ตอนที่ 69 ก, หน้า 96
พระราชบัญญัติ อาหาร พ.ศ. 2522. (2522, 13 พฤษภาคม). ราชกิจจานุเบกษา. เล่มที่ 96 ตอนที่ 79, หน้า 1
พิกุล เสียงประเสริฐ. (2556). รูปแบบการคุ้มครองผู้บริโภคด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น จังหวัดปทุมธานี. ดุษฎีนิพนธ์ ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต. สาขาผู้นำทางสังคม เศรษฐกิจและการเมือง วิทยาลัยนวัตกรรมสังคม มหาวิทยาลัยรังสิต, กรุงเทพมหานคร.
ไพโรจน์ แก้วมณี. (2562). มาตรการควบคุมอาหารเพื่อการจำหน่ายและการโฆษณา. ในเอกสารการสอนชุดวิชาพฤติกรรมผู้บริโภคและการคุ้มครองด้านอาหารและโภชนาการ (หน่วยที่ 2, หน้า 45-50). นนทบุรี: สาขาวิชามนุษยนิเวศศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
มาดีนา น้อยทับทิม และกนกวรรณ สุขขจรวงษ์. (2556). การใช้ระบบการตรวจสอบย้อนกลับ. วารสาร Princess of Naradhiwas University Journal, ฉบับพิเศษประจำปี 2556, หน้า 206.
มูลนิธิเพื่อผู้บริโภค. (2564). “โฆษณาเกินจริง” ครอง 3 ปีซ้อน ปัญหาผู้บริโภคอันดับ 1. สืบค้นเมื่อ 30 ธันวาคม 2566 จาก https://www.consumerthai.org/consumers-news/food-and-drug/4535-640109-consumersituation2020.html
ยุพดี ศิริสินสุข. (2548). การคุ้มครองผู้บริโภคในระบบประกันสุขภาพไทย. สืบค้นเมื่อ 25 ธันวาคม 2566 จาก https://kb.hsri.or.th/dspace/handle/11228/1198?locale-attribute=th
รพีพร เทียมจันทร์. (2561). การรู้เท่าทันสื่อการจำหน่ายสินค้าสุขภาพทางอินเทอร์เน็ตของประชาชนในอำเภอเมืองเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่ (รายงานการวิจัย). เชียงใหม่: สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.)
รัษวรรณ อภิลักขิตกาล. (2560). มาตรฐานและกฎหมายอาหาร. พิมพ์ครั้งที่ 4. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยรามคำแหง.
ศรีนวล กรกชกร และกนกวรรณ พีระวงศ์. (2562). บทบาทของภาครัฐในการกำกับดูแลผลิตภัณฑ์อาหารหลังออกตลาด. ในเอกสารการสอนชุดวิชาพฤติกรรมผู้บริโภคและการคุ้มครองด้านอาหารและโภชนาการ (หน่วยที่ 7, หน้า 1-6). นนทบุรี: สาขาวิชามนุษยนิเวศศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
ศูนย์จัดการเรื่องร้องเรียนและปราบปรามการกระทำผิดกฎหมายเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์สุขภาพ. (2566). สถิติร้องเรียนรายปี 2564 – 2566. สืบค้นเมื่อ 28 ธันวาคม 2566 จาก https://cemc.fda.moph.go.th/ statistic/category/yearly-complaint-statistic?kw=ปีงบประมาณ+2566
สถาบันอาหาร. (2560). ตลาดวิตามินและผลิตภัณฑ์เสริมอาหารในประเทศไทย. สืบค้นเมื่อ 24 ธันวาคม 2566 จาก https://fic.nfi.or.th/upload/market_overview/Rep_Vitamin&Diet%20Sup_
02.09.pdf
สภาองค์กรของผู้บริโภค. (2566). เกี่ยวกับสภาผู้บริโภค. สืบค้นเมื่อ 27 ธันวาคม 2566 จาก https://www.tcc.or.th/aboutus/
สภาองค์กรของผู้บริโภค. (2566). ป้องกันเหตุอาหารปนเปื้อนต้องมีระบบเรียกคืนและตรวจสอบย้อนกลับ. สืบค้นเมื่อวันที่ 20 มกราคม 2567 จาก https://www.tcc.or.th/27032565-news-processed-meat/
สำนักงานคณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภค. (2566). หน้าที่ของผู้บริโภค. สืบค้นเมื่อ 22 ธันวาคม 2566 จาก https://www.ocpb.go.th/news_view.php?nid=9764
สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา. (2562). คู่มือการดำเนินงานคุ้มครองผู้บริโภคด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพ (อาหารและเครื่องสำอาง) สำหรับเจ้าหน้าที่ อปท. สืบค้นเมื่อวันที่ 20 มกราคม 2567 จาก
สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา. (2563). สรุปผลการดำเนินงานเรื่องร้องเรียนงานเฝ้าระวังโฆษณาและงานปราบปราม (พ.ศ.2561-2563). สืบค้นเมื่อ 20 กันยายน 2566 ttps://data.go.th/dataset/
hreport-complaint.
สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา. (2563). การเรียกคืนผลิตภัณฑ์. สืบค้นเมื่อ 20 มกราคม 2567 จาก https://food.fda.moph.go.th/media.php?id=512256962516361216&name=GMPKM_14.pdf
สำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม. (2566). ความสำคัญของระบบตรวจสอบย้อนกลับของสหภาพยุโรป. สืบค้นเมื่อ 20 มกราคม 2567 จาก https://appdb.tisi.go.th/tis_devs/regulate/eu/
pdf/Traceability%20System%20EU.pdf
สำนักส่งเสริมและสนับสนุนอาหารปลอดภัย. (2565). สถิติการเรียกคืนอาหารของประเทศต่าง ๆ ประจำปี 2565. กรุงเทพ: สุภชัยถ่ายเอกสาร.
The Business Plus. (2566).ทิศทางตลาดอาหารเสริมกับมูลค่าที่เติบโต 10% ตลอด 7 ปี. สืบค้นเมื่อ 20 มกราคม 2567 จาก https://www.thebusinessplus.com/supplement/
Caroline Hackley. (2023). Supplementing Dietary Supplement Regulation. Retrieved from https://www.theregreview.org/2023/10/11/hackley-supplementing-dietary-supplement-regulation/
Michael T. Roberts. (2016). Food Law in the United States. New York: Cambridge University Press.
NSW Government. Recalls process information for industry (FSANZ). Retrieved from https://www.foodauthority.nsw.gov.au/help/recalls
Schiffman, L.G. & Kamuk, L.L. (2010). Consumer Behavior.10th ed. New Jersey: Pearson Prentice Hall.
Solomon, M.R. (2013). Consumer behavior; buying having and being. New Jersey: Pearson Prentice Hall.
U.S.Food & Drug Administration. (2022). How to Report a Problem with Dietary Supplements. Retrieved from https://www.fda.gov/food/dietary-supplements/how-report-problem-dietary-supplements
Victoria Hawekotte. (2024). FDA’s Minimal Authority over Dietary Supplements. Retrieved from https://www.theregreview.org/2024/01/10/hawekotte-fdas-minimal-authority-over-dietary-supplements/