ปัจจัยที่มีผลต่อการซื้อสินค้าผ่านช่องทางออนไลน์ของผู้บริโภค ในเขตหนองแขม กรุงเทพมหานคร
คำสำคัญ:
ส่วนประสมทางการตลาด, ผู้บริโภค, ช่องทางออนไลน์บทคัดย่อ
บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาเปรียบเทียบการเลือกซื้อสินค้าผ่านช่องทางออนไลน์ของผู้บริโภคในเขตหนองแขมกรุงเทพมหานคร จำแนกตามด้านประชากรศาสตร์ และ เพื่อศึกษาปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดที่มีผลต่อการตัดสินใจซื้อของผู้บริโภคในเขตหนองแขม กรุงเทพมหานคร กลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้บริโภคในเขตหนองแขมกรุงเทพมหานคร จำนวน 400 คน โดยวิธีการเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบสะดวก (Convenience Sampling) ใช้แบบสอบถามเพื่อรวบรวมข้อมูลสถิติที่ใช้ ได้แก่ ค่าความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าสถิติ t-test ค่าสถิติ One-way ANOVA และการวิเคราะห์สมการถดถอยพหุคูณ (Multiple regression analysis) ผลการวิจัยพบว่า 1) ปัจจัยด้านประชากรศาสตร์ที่แตกต่างกันมีผลต่อการซื้อสินค้าผ่านช่องทางออนไลน์ของผู้บริโภคในเขตหนองแขม กรุงเทพมหานคร ไม่แตกต่างกัน และ 2) ปัจจัยส่วนประสมทางการตลาด ด้านผลิตภัณฑ์ ด้านการส่งเสริมการตลาด ด้านการให้บริการส่วนบุคคล ด้านลักษณะกายภาพ และด้านกระบวนการ ที่มีผลต่อการตัดสินใจซื้อสินค้าผ่านช่องทางออนไลน์ของผู้บริโภคในเขตหนองแขม กรุงเทพมหานคร
References
คัทลียา เจริญเสรีชัย วสุธิดา นุริทตะมนต์ บดินทร์ พยาพรหม และ ศุภประวัติ สิริพิพัฒนกุล.(2565).
Understanding the effect of social media advertising values on online purchase
intention: a case study of Bangkok, Thailand. Asian Administration and Management
Review (e-ISSN: 2730-3683) (July –December 2022), 6(4), 235-241.
เจณิภา คงอิ่ม .(2566). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจซื้อสินค้าผ่านแอปพลิเคชันออนไลน์ของผู้บริโภคยุค
ดิจิทัลในจังหวัดนนทบุรี, วารสารพุทธนวัตกรรมและการจัดการ, 6(4),40-50.
ณัฐกมล สุขเปี่ยม และ นิวัฒน์ จันทรรัตน์ .(2562). การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างทัศนคติที่ส่งผลต่อความ
ภักดีในการตัดสินใจช้อปปิ้งออนไลน์ของผู้บริโภคในกรุงเทพมหานคร, Proceedings of The 4th
Regional Conference on Graduate Research 8 December 2019, Sripatum University,
Bangkok, Thailand, 4(15),205-213.
สุธาทิพย์ ทั่วจบ (2562) พฤติกรรมการซื้อสินค้าผ่านแอปพลิเคชันออนไลน์ของนักศึกษาระดับปริญญาตรี
อําเภอพุทธมณฑลจังหวัดนครปฐม. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยกรุงเทพธนบุรี, 8(2), 119-134.
สมเดช รุ่งศรีสวัสดิ์ และ ,ฐิตินันท์ จันทร์โกศล. (2563). Social Media Peer Communication and Impact
on Purchase Intention, Talent Development & Excellence, 12(2), 2020, 1845-1855.
อรจิรา แก้วสว่าง ชาญเดช เจริญวิริยะกุล และ วราพร ดำรงกูลสมบัติ .(2564). ปัจจัยส่วนประสมทาง
การตลาดกับการเลือกซื้อสินค้าออนไลน์ผ่านแอพพลิเคชั่น Shopee ของผู้บริโภคในกรุงเทพมหานคร,
วารสารการวิจัยการบริหารหารพัฒนา, เมษายน-มิถุนายน 2564, 11(2), 308-321.
อภิวัฒน์ พัฒเชียร .(2564). ปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดออนไลน์ที่ส่งผลต่อพฤติกรรมการซื้อสินค้า ผ่าน
ระบบออนไลน์ของผู้บริโภคในเขตอำเภอเคียนซา จังหวัดสุราษฎร์ธานี, หลักสูตรบริหารธุรกิจ
มหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยรามคำแหง.
Achrol, R. S., & Kotler, P. (2022). Distributed marketing networks: The fourth industrial
revolution. Journal of Business Research, 150, 515-527.
Aratchaphon Jamjang & Tanpat Kraiwanit. (2019). Business model transformation in the digital
era, Asian Administration and Management Review, 2(2), 37-44.
Moslehpour, M., Chang, M. L., Pham, V. K., & Dadvari, A. (2022)."What makes GO-JEK go in
Indonesia? The influences of social media marketing activities on purchase intention."
Journal of Theoretical and Applied Electronic Commerce Research, 17(1), 89-103.
Nuntavorakarn, S., & Sriprasert, P. (2020). Factors Affecting the Intention to Use Social Media
Advertising in Bangkok, Thailand. Kasetsart Journal of Social Sciences,1 (6), 129-145.
Petcharat, T., & Leelasantitham, A., (2023). A retentive consumer behavior assessment model
of the online purchase decision-making process. Heliyon, 7(10), 143-154.
Liu, P., & Qureshi, H.A., (2023). The Effects of social media marketing on customer’s purchase
intention; a Moderated Mediation Model from the Apparel Industry of Pakistan. International Journal of Business and Economics Research,12(3), 115-122.
Sritongkham, P., & Kongchan, C. (2021). Influence of social media on purchase intention and
decision-making process of generation Y in Bangkok. Journal of Management Science,
Chulalongkorn University, 38(1),177-200.
Taro Yamane. (1970). Statistics – An Introductory analysis. Tokyo: John Weatherhill, Inc.
สำนักบริหารการทะเบียน กรมการปกครอง. (2566). จำนวนราษฎรทั่วราชอาณาจักร ตามหลักฐานการ
ทะเบียนราษฎร์ ณ วันที่ 3 มีนาคม 2567. สืบค้นจาก