การวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยันประสิทธิภาพการจัดการโลจิสติกส์ของธุรกิจการค้าข้ามแดนเชียงราย

ผู้แต่ง

  • วัชระ วัธนารวี นักศึกษาหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาบริหารธุรกิจ สำนักวิชาการจัดการ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง
  • ภูมิพัฒน์ มิ่งมาลัยรักษ์ อาจารย์ สำนักวิชาการจัดการ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง

คำสำคัญ:

การจัดการโลจิสติกส์, การค้าข้ามแดน, เชียงราย

บทคัดย่อ

งานวิจัยนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อศึกษาประสิทธิภาพการจัดการโลจิสติกส์ของธุรกิจการค้าข้ามแดนจังหวัดเชียงราย และวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยันของประสิทธิภาพการจัดการโลจิสติกส์ของธุรกิจการค้าข้ามแดนจังหวัดเชียงราย รวมทั้งตรวจสอบความสอดคล้องของระหว่างโครงสร้างองค์ประกอบประสิทธิภาพการจัดการโลจิสติกส์ของธุรกิจการค้าข้ามแดนจังหวัดเชียงราย กับข้อมูลเชิงประจักษ์ โดยมีกลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้บริหาร พนักงาน ของสถานประกอบการการค้าข้ามแดน-การค้าชายแดน จากจังหวัดเชียงราย จำนวน 295 แห่ง ใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือที่ใช้ในการรวบรวมข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเชิงพรรณนา และการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยัน ผลการวิจัยพบว่า ประสิทธิภาพการจัดการโลจิสติกส์ของธุรกิจการค้าข้ามแดนจังหวัดเชียงรายอยู่ในระดับค่อนข้างมาก โดยองค์ประกอบของประสิทธิภาพการจัดการโลจิสติกส์ของธุรกิจการค้าข้ามแดนจังหวัดเชียงราย มี 3 องค์ประกอบคือ องค์ประกอบประสิทธิภาพในการจัดการโลจิสติกส์มิติด้านต้นทุน องค์ประกอบประสิทธิภาพในการจัดการโลจิสติกส์มิติด้านเวลา และองค์ประกอบประสิทธิภาพในการจัดการโลจิสติกส์มิติด้านความเชื่อถือได้ ผลการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยันลำดับสองพบว่าโมเดลมีความสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์

References

กรกช ใยบัวเทศ. (2551). แบบประเมิน SCM Logistics Scorecard (Self-Diagnosis). เอกสารประกอบการสัมมนาโลจิสติกส์เชียงราย. เชียงราย: หอการค้าจังหวัดเชียงราย.

คณะกรรมการบริหารงานจังหวัดแบบบูรณาการจังหวัดเชียงราย. (2557). แผนพัฒนาจังหวัดเชียงราย พ.ศ. 2557 – 2560 (ฉบับทบทวน). เชียงราย: สำนักงานจังหวัดเชียงราย ศาลากลางจังหวัดเชียงราย.

คำนาย อภิปรัชญากุล. (2553). โลจิสติกส์และโซ่อุปทาน (พิมพ์ครั้งที่ 1). กรุงเทพฯ: บริษัท โฟกัสมีเดีย แอนด์ พับลิชชิ่ง จำกัด.

ณัฐพรพรรณ อุตมา, สิทธิชาติ สมตา, และพรพินันท์ ยี่รงค์. (2558). OBEL Outlooks 2015 พลวัตทางสิ่งแวดล้อมเศรษฐสังคมชายแดน: ภาพรวมเศรษฐกิจชายแดนและโลจิสติกส์ 2558. เชียงราย: มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง.

รุธิร์ พนมยงค์. (2547). การจัดการโลจิสติกส์ในประเทศ. กรุงเทพ: สำนักพิมพ์เวลาดี ในนามบริษัท แปลนสารา จำกัด.

ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สำนักงานปลัดกระทรวงพาณิชย์ โดยความร่วมมือจากกรมศุลกากร. (2561). สถิติการค้าชายแดนและการค้าผ่านแดนของไทย. สืบค้น 16 กุมภาพันธ์ 2561, จาก https://btsstat.dft.go.th

สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2555). แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่สิบเอ็ด พ.ศ. 2555 – 25559. กรุงเทพฯ: สำนักนายกรัฐมนตรี.

สำนักโลจิสติกส์ กรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่. (2553). คู่มือการประเมินประสิทธิภาพโลจิสติกส์ภาคอุคสาหกรรมและการประเมินประสิทธิภาพซัพพลายเชน. กรุงเทพฯ: บริษัท เอ็มติด โฮลดิ้ง จำกัด.

Aramyan, L. H., Oude Lansink, A. G., Van Der Vorst, J. G., & Van Kooten, O. (2007). Performance measurement in agri-food supply chains: A case study. Supply Chain Management: An International Journal, 12(4), 304-315.

Bourlakis, M., & Bourlakis, C. (2006). Integrating logistics and information technology strategies for sustainable competitive advantage. Journal of Enterprise Information Management, 19(4), 389-402.

Coyle, J. J., Langley, C. J., Novack, R. A., & Gibson, B. (2016). Supply chain management: A logistics perspective. (10th ed.). Mason: Nelson Education.

Field, A. (2009). Discovering statistics using SPSS. London: Sage publications.

Fugate, B. S., Mentzer, J. T., & Stank, T. P. (2010). Logistics performance: efficiency, effectiveness, and differentiation. Journal of business logistics, 31(1), 43-62.

George, D., & Mallery, M. (2010). SPSS for windows step by step: A simple guide and reference, 17.0 update. (10th ed.). Boston: Pearson.

Gravetter, F., & Wallnau, L. (2014). Essentials of statistics for the behavioral sciences (8th ed.). Belmont: Wadsworth.

Hair, J. F., Anderson, R. E., Tatham, R. L., & Black, W. C. (2006). Multivariate data analysis (6th ed.). N.J.: Pearson Prentice Hall.

Harrison, A., & Van Hoek, R. I. (2008). Logistics management and strategy: Competing through the supply chain (3rd ed.). Gosport, British: Ashford Colour Press.

International Institute for Management Development. (2003). IMD world competitiveness yearbook 2003. Retrieved October 25, 2017, from https://www.imd.org/wcc/world-competitiveness-center/

Lambert, D. M., & Stock, J. R. (1993). Strategic logistics management (4th ed.). Boston: McGraw-Hill.

Mansidão, R., & Coelho, L. A. (2014). Logistics performance: A theoretical conceptual model for small and medium enterprises. CEFAGE-UE Working Paper, 1(12), 1-22.

Murphy, P. R., & Wood, D. F. (2008). Contemporary logistics (11th ed.). New York: Prentice Hall.

NEVEM Workgroup. (1992). Performance indicators in logistics. Logistics Information Management. 5(3) 35-40.

Töyli, J., Häkkinen, L., Ojala, L., & Naula, T. (2008). Logistics and financial performance: An analysis of 424 Finnish small and medium-sized enterprises. International Journal of Physical Distribution & Logistics Management, 38(1), 57-80.

Trochim, W. M., & Donnelly, J. P. (2006). The research methods knowledge base (3rd ed.). Cincinnati: Atomic Dog.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2019-03-21