ผลของกิจกรรมการเต้นสร้างสรรค์ที่มีต่อทักษะการคิดเชิงบริหารด้านพื้นฐานในเด็กปฐมวัย
คำสำคัญ:
ทักษะการคิดเชิงบริหาร, การเต้นสร้างสรรค์, เด็กปฐมวัยบทคัดย่อ
การศึกษาวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อพัฒนากิจกรรมการเต้นสร้างสรรค์ที่มีต่อการพัฒนาทักษะการคิดเชิงบริหารด้านพื้นฐานในเด็กปฐมวัย 2) เพื่อเปรียบเทียบผลการทดสอบทักษะการคิดเชิงบริหารด้านพื้นฐานระหว่างก่อนและหลังการเข้าร่วมกิจกรรม กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยได้แก่ เด็กชั้นอนุบาล 2 โรงเรียนประชาอุทิศ (จันทาบอนุสรณ์) จำนวน 25 คน เพื่อเปรียบเทียบผลการทดสอบทักษะการคิดเชิงบริหารด้านพื้นฐานระหว่างก่อนและหลังของการเข้าร่วมกิจกรรมการเต้นสร้างสรรค์ในกลุ่มทดลอง กลุ่มทดลองจะได้เข้าร่วมกิจกรรมการเต้นสร้างสรรค์ 10 ครั้ง ครั้งละ 45 นาที แบ่งเป็นสัปดาห์ละ 2 ครั้ง รวมทั้งหมด 5 สัปดาห์ ใช้แบบประเมินทักษะการคิดเชิงบริหารด้านพื้นฐานในเด็กปฐมวัย ประเมินผลก่อนและหลังการเข้าร่วมกิจกรรมโดยผู้ปกครองและครูประจำชั้น สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและการทดสอบค่าที ผลการทดลองพบว่าหลังการเข้าร่วมกิจกรรมเด็กปฐมวัยที่เข้าร่วมกิจกรรมการเต้นสร้างสรรค์มีทักษะการคิดเชิงบริหารด้านพื้นฐานสูงกว่าก่อนการเข้าร่วมกิจกรรมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05
References
กมลจันทร์ ชื่นฤทธิ์. (2550). การพัฒนาความมีวินัยในตนเองของเด็กปฐมวัยที่ได้ร้บการจัดกิจกรรมประกอบเพลงคุณธรรมตามพระราชดำรัส (ปริญญานิพนธ์ กศ.ม. (การศึกษาปฐมวัย)). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
กิตติศักดิ์ เกตุนุติ. (2557). การพัฒนารปูแบบการจัดการเรียนรู้แบบ B-R-A-I-N เพื่อส่งเสริมความสามารถทางการคิดวิจารณญาณของเด็กปฐมวัย (ปริญญานิพนธ์ กศ.ด. (การศึกษาปฐมวัย)). กรงุเทพฯ: มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
จุฑามาศ วงศ์สุวรรณ. (2548). การเคลื่อนไหวประกอบจังหวะที่มีผลต่อประสิทธิภาพในการเคลื่อนไหวของเด็กที่มีความบกพร่องทางสติปัญญา (ปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
ณิชา ทัศน์ชาญชัย, และจริยา จุฑาภิสิทธิ์. (2559) กิจกรรมตามวัยเพื่อส่งเสิรมทักษะการบริหารจัดการและการควบคุมตนเอง. คณะแพทยศาสตร์ โรงพยาบาลรามาธิบดี: หน่วยพัฒนาการเด็กภาควิชากุมารเวชศาสตร์. สืบค้นจาก https://www.thaipediatrics.org/Media/media-20161129093332.pdf
นวลจันทร์ จุฑาภักดีกุล. (2560). การพัฒนาและหาค่าเกณฑ์มาตรฐานเครื่องมือประเมินการคิดเชิงบริหารในเด็กปฐมวัย. ใน นุชนาฏ รักษี, ปนัดดา ธนเศรษฐกรและอรพนิท์ เลิศอวัสดาตระกูล (Eds.). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยมหิดล.
ไปรยาวีริณ ศรีประเสริฐ, และคณิต เขียววิชัย. (2560). รูปแบบกิจกรรมการเต้นบัลเล่ต์เพื่อส่งเสริมพฤติกรรมที่เหมาะสมสำหรับเด็กสมาธิสั้น ในระดับประถมศึกษา ฉบับภาษาไทยสาขามนุษยศาสตร์สังคมศาสตร์และศิลปะ (พฤษภาคม–สิงหาคม 2560). Veridian E-Journal, 10(2), 2235-2249.
พรพิมล เวสสวัสดิ์, และศศิลักษณ์ ขยันกิจ. (2015). ผลของการจัดกิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะโดยใช้แนวคิดการเต้นเชิงสร้างสรรค์ที่มีต่อความคิดสร้างสรรคข์องเด็กอนุบาล. Online Journal of Education, 10(2), 63-73.
เพ็ญพรรณ จิตตะเสนีย์. (2560, 30 พฤศจิกายน). EF หัวใจสำคัญการพัฒนาการศึกษา. หนังสือพิมพ์แนวหน้า. สืบค้นจาก https://www.thaihealth.or.th/Content/39735-’EF’%20%E0%B8%AB%E0%B8%B1%E0%B8%A7%E0%B9%83%E0%B8%88%E0%B8%AA%E0%B8%B2%E0%B8%84%E0%B8%B1%E0%B8%8D%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%9E%E0%B8 %B1%E0%B8%92%E0%B8%99%E0%B8%B2%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%A8%E0%B8%B6%E0%B8%81%E0%B8%A9%E0%B8%B2.html
เยาวเรศ ธนวนกุล. (2556). ผลการจัดกิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะประกอบการใช้อุปกรณ์ที่มีต่อความสามารถในการแก้ปัญหาของเด็กปฐมวัย โรงเรียนวัดคลองพลูจังหวัดจันทบุรี (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). นนทบุรี: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
รชต ถนอมกิตติ. (2560). ผลของโปรแกรมการเต้นแอโรบิกที่มีต่อสมาธิของเด็กก่อนวัยเรียน (ปริญญานิพนธ์ จิตวิทยาพัฒนาการ). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
รังสฤษฎิ์ บุญชลอ. (2539). กิจกรรมเข้าจังหวะ : Rhythmic activities. ปทุมธานี: บริษัทสกายบุ๊กส์.
วิศณีไชยรักษ์, ข. ร. (2557). การออกแบบสถาปัตยกรรมภายในห้องเรียนเด็กปฐมวัยโดยใช้การเรียนรู้ แบบใช้สมองเป็นพื้นฐาน : Interior architecture within the early childhood classroom focusing on brain based learning). วารสารวิชาการ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สจล., 18(1), 105-121.
สมบัติ กาญจนกิจ. (2520). สันทนาการชั้นนำ : Introduction to recreation. กรุงเทพฯ: แผนกวิชาพลศึกษา คณะครุศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. สืบค้นจาก www.thaipediatrics.org/Media/ media-20161129093332.pdf
สุภาวดี หาญเมธี. (2558). EF ภูมิคุ้มกันชีวิตและป้องกันยาเสพติด คู่มือสำหรับครูอนุบาล.
Alan, B. (1996). Exploring the central executive. The Quarterly Journal of Experimental Psychology Section A, 49(1), 5-28. doi:10.1080/713755608
Clancy, B. (2016b). Executive function and early childhood education. Current Opinion in Behavioral Sciences, 10, 102-107.
Faber, A., & Kuo, E. (2009). Children with attention deficits concentrate better after walk in the park. Journal of Attention Disorders, 12(5), 402-409.
Gilbert, A. G. (2016). Creative dance for all ages (2nd ed.). Palaestra, 30(3), 62.
Gothe, P., Keswani, K., & McAuley, E. (2016). Yoga practice improves executive function by attenuating stress levels. Biological psychology, 121, 109-116.
Harvard University Center of developing child. (2014). Enhancing and practicing executive function skills with children from infancy to adolescence. United States: Harvard University.
Hoffman, W., Hoffman, L., Paris, G., & Hall, E. (1994). Developmental psychology today (5th ed.). McGraw-Hill.
Lakes, D., Marvin, S., Rowley, J., San, M., Arastoo, S., Viray, L., & Jurnak, F. (2016). Dancer perceptions of the cognitive, social, emotional, and physical benefits of modern styles of partnered dancing. Complementary Therapies in Medicine, 26, 117-122.
Lakes, D.,Tracy B, Sirisinahal, S., Salim, N., Arastoo, S., Emmerson, N., & Kang, C. J. (2013). The healthy for life taekwondo pilot study: a preliminary evaluation of effects on executive function and BMI, feasibility, and acceptability. Mental Health and Physical Activity, 6(3), 181-188.
Lyon, G., & Krasnegor, A. (1996). Attention, memory, and executive function. Paul H Brookes Publishing.
McGowan, J. (2018). What is creative dance?: Jennifer McGowan’s Creative Dance Center. Retrieved from https://jvmcgowan.tripod.com/whatiscreativedance.html
Miyake, A., & Friedman, P. (2012). The nature and organization of individual differences in executive functions: Four general conclusions. Current Directions in Psychological Science, 21(1), 8-14.
Moriya, M., Aoki, C., & Sakatani, K. (2016). Effects of physical exercise on working memory and prefrontal cortex function in post-stroke patients. Oxygen Transport to Tissue, XXXVIII (pp. 203-208): Springer.
Nahme-Huang, L., Singer, D. G., Singer, J. L., & Wheaton, A. B. (1977). Imaginative play training and perceptual-motor interventions with emotionally-disturbed hospitalized children. American Journal of Orthopsychiatry, 47(2), 238-249.
Pons, G., Huijts, M., & Lodder, J. (2013). Cognition improvement in taekwondo novices over 40. Results from the SEKWONDO Study. Frontiers in Aging Neuroscience, 5, 74.
Smith, E., & Jonides, J. (1999). Storage and executive processes in the frontal lobes. Science, 283(5408), 1657-1661.
Thorell, B., Lindqvist, S., Bergman, S., Bohlin, G., & Klingberg, T. (2009). Training and transfer effects of executive functions in preschool children. Developmental Science, 12(1), 106-113. doi:10.1111/j.1467-7687.2008.00745.x
Von, E., Dickinson, J., & Poole G. (1999). Creative dance: potentiality for enhancing social functioning in frail seniors and young children-creative movement and older adults. The Arts in Psychotherapy, 5(26), 313-327.
Ziereis, S., & Jansen, P. (2015). Effects of physical activity on executive function and motor performance in children with ADHD. Research in Developmental Disabilities, 38, 181-191.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
เนื้อหาและข้อมูลในบทความที่ลงตีพิมพ์ในวารสารสุทธิปริทัศน์ ถือเป็นข้อคิดเห็นและความรับผิดชอบของผู้เขียนบทความโดยตรงซึ่งกองบรรณาธิการวารสาร ไม่จำเป็นต้องเห็นด้วย หรือร่วมรับผิดชอบใดๆ
บทความ ข้อมูล เนื้อหา รูปภาพ ฯลฯ ที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารสุทธิปริทัศน์ ถือเป็นลิขสิทธิ์ของวารสารสุทธิปริทัศน์หากบุคคลหรือหน่วยงานใดต้องการนำทั้งหมดหรือส่วนหนึ่งส่วนใดไปเผยแพร่ต่อหรือเพื่อกระทำการใด ๆ จะต้องได้รับอนุญาตเป็นลายลักษณ์อักษรจากวารสารสุทธิปริทัศน์ก่อนเท่านั้น