การยอมรับและการบังคับตามคำชี้ขาดทางการค้าพาณิชย์ระหว่างประเทศสมาชิกอาเซียน
คำสำคัญ:
อาเซียน, อนุญาโตตุลาการ, การระงับข้อพิพาท, การบังคับตามคำชี้ขาดบทคัดย่อ
ปัจจุบันการค้าการลงทุนในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ภายใต้ประชาคมอาเซียน หากมีข้อพิพาทที่เกี่ยวกับการค้าการลงทุนระหว่างประเทศสมาชิกอาเซียนแล้วจะมีทางออกร่วมกันไปในทิศทางใด เพื่อให้การค้าการลงทุนนั้นสามารถดำเนินต่อไปได้โดยไม่กระทบถึงความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ ซึ่งถือว่าเป็นการสร้างระบบความเชื่อมั่นในกระบวนการยุติธรรม ซึ่งแต่ละประเทศนั้นมีอธิปไตยทางตุลาการของแต่ละประเทศแยกออกจากกัน ทำให้การระงับข้อพิพาทต่างๆ นั้นแต่ละประเทศย่อมอยากได้ความยุติธรรมที่เป็นกลางและไม่อยากยอมรับคำพิพากษาของศาลแต่ละประเทศสมาชิกอาเซียนอย่างแน่นอน จึงต้องมีการสร้างนวัตกรรมทางกฎหมายระหว่างประเทศด้านพาณิชย์ซึ่งทำให้ต้องศึกษาถึงการยอมรับและการบังคับตามคำชี้ขาดทางการค้าพาณิชย์ ระหว่าง ประเทศสมาชิกอาเซียนตามเป้าหมายของสมาคมแห่งประชาชาติเอเชียตะวันออกตะวันออกเฉียงใต้ ดังนั้น วัตถุประสงค์ของงานวิจัย คือ ศึกษาถึงสภาพปัญหาการยอมรับและการบังคับตามคำชี้ขาดของการระงับข้อพิพาทต่างๆ ตามอนุสัญญาระหว่างประเทศเพื่อนำไปสู่แนวทางปฏิบัติที่ดีที่สุดให้ได้มาเพื่อการยอมรับในผลของคำชี้ขาดที่จะครอบคลุมการบังคับชำระหนี้ระหว่างการค้าการลงทุนระหว่างประเทศสมาชิกประชาคมอาเซียน ศึกษาถึงปัจจัยข้อขัดแย้งและเงื่อนไขระหว่างประเทศสมาชิกประชาคมอาเซียนที่ไม่สามารถบังคับให้คู่สัญญาระหว่างประเทศสมาชิกในประชาคมอาเซียนยอมรับการปฏิบัติการชำระหนี้ตามคำชี้ขาด รวมถึงศึกษาในกลุ่มภูมิภาคหรือประเทศที่ประสบความสำเร็จวิเคราะห์เปรียบเทียบหลักกฎหมาย กรณีศึกษาของแต่ละประเทศสมาชิกในประชาคมอาเซียนที่จะนำไปสู่การยอมรับบังคับตามคำชี้ขาดในกลุ่มประเทศประชาคมสมาชิกอาเซียน และเพื่อศึกษาวิเคราะห์และพัฒนาแนวทางที่นำไปสู่ตัวแบบมาตรฐานการยอมรับ และการบังคับตามคำชี้ขาดประเทศสมาชิกทั้ง 10 ประเทศ โดยยึดหลักตามกฎหมายแม่แบบอนุญาโตตุลาการและตามอนุสัญญากรุงนิวยอร์ก โดยหลีกเลี่ยงที่จะอ้างหลักความสงบเรียบร้อย ศีลธรรมอันดีและนโยบายแห่งรัฐมาเป็นหลักในการปฏิเสธ การบังคับตามคำชี้ขาดอนุญาโตตุลาการระหว่างประเทศ
References
การศึกษาทบทวนกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการยุติธรรมทางแพ่งและพาณิชย์ เพื่อเตรียมความพร้อมด้านกฎหมายและกระบวนการยุติธรรมของประเทศไทยเข้าสู่การเป็นประชาคมอาเซียน. (2556). กรุงเทพฯ: คณะนิติศาสตร์ปรีดี พนมยงค์ ร่วมกับสำนักงานกิจการยุติธรรม กระทรวงยุติธรรม.
ฆัสรา ขมะวรรณ, มุกดาวิจิตร, และภิญโญ ไตรสุริยธรรมา. (2555). อาเซียนภาควัฒนทัศนะต่อประชาคมในกระแสความความขัดแย้งและความหวัง. กรุงเทพฯ: ม.ป.พ.
จิตรดารมย์ รัตนภูมิ. (2017, กรกฎาคม). การยอมรับและบังคับตามคำชี้ขาดของอนุญาโตตุลาการในประเทศสมาชิกอาเซียน. Journal of Southern Technology, 10(2), 129.
ชิตพล ลิขิตภูมิสถิตย์. (2549). บทบาทของศาลยุติธรรมในกระบวนพิจารณาอนุญาโตตุลาการ (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ประภัสสร์ เทพชาตรี. (2552). ไทยกับการเป็นประธานอาเซียน. กรุงเทพฯ: เสมาธรรม.
ประสิทธิ์ ปิวาวัฒนพานิช. (2551). คำอธิบายกฎหมายระหว่างประเทศแผนกคดีบุคคล. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
ไพมณี ไชวงษา. (2546). การยอมรับและบังคับตามคำชี้ขาดของอนุญาโตตุลาการต่างประเทศ: ศึกษาเปรียบเทียบตามกฎหมายไทย-ลาว (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต) กรุงเทพ: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
ภิญญดา ไรนิเกอร์. (2551). การพัฒนาระบบระงับข้อพิพาทในอาเซียน: บทเรียนจากระบบระงับข้อพิพาทในภูมิภาคอื่นๆ (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
วิรวรรณ เหรียญนาค. (2541). พัฒนาการของความคิดบางเรื่องในการอนุญาโตตุลาการพาณิชย์ระหว่างประเทศ (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
วิศว พัวเทพนิมิต. (2550). บทบาทของศาลในการชี้ขาดข้อพิพาทโดยหลักแห่งความเป็นธรรม (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
สุรางคณา แก้วจำนงค์. (2539). ความผูกพันและผลบังคับใช้ของอนุสัญญาว่าด้วยการระงับข้อพิพาทเกี่ยวกับการลงทุนระหว่างรัฐกับคนชาติของรัฐอื่นต่อไทย (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
อนันต์ ช่วยนึก. (2556). การรับรองและการบังคับตามคำพิพากษาของศาล ในกลุ่มประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน. วารสารวิชาการศรีปทุม ชลบุรี, 9(4), 29-39.
อาเซียน มินิบุ๊ค. ASEAN mini book. (2556). กรุงเทพฯ: กรมอาเซียน กระทรวงการต่างประเทศ.
อานนท์ ศรีบุยโรจน์. (2554) การรับรองและการบังคับตามคำพิพากษาศาลต่างประเทศในกลุ่มประเทศอาเซียน (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
Al Mulla, & H. M. S. (1999). Conventions of enforcement of foreign judgments in the Arab States. Arab Law Quarterly, 14(1), 33-56.
ASEAN Investment Guidebook. (2012, 6 September). Association of Southeast Asian Nations. Retrieved from https://www.aseansec.org/publications/Asean-Investment-2009.pdf.
Boo, L. (2016). Enforcement of foreign award: A suggestion for an ASEAN Protocol on Enforcement of foreign award. Singapore: The Arbitration Chamber.
Business in Brunei Darussalam. (2012, 6 September). The Brunei resources website. Retrieved from https://www.bruneiresources.com/business.html.
Chapter 39 companies. (2012, 6 September). Laws of Brunei (revised edition 1984). Retrieved from https://www.agc.gov.bn/agc1/images/LOB/PDF%20(EN)/Cap039.pdf.
Expansion of Established Enterprises: Business and Investment Incentives. (2012, 1 September). The Brunei Economic Development Board: BEDB. Retrieved from https://www.bedb.com.bn/doing_incentives_expansion.html.
Gerarardi, M. (1995). Jumpstarting APEC in the race to open regionalism: A proposal for the multilateral adoption of UNCITRAL’s model law on 70. Retrieved from https://scholarlycommons.law.northwestern.edu/cgi/viewcontent.cgi?article=1415&context=njilb
Goh, C. h. L, (2016). Legal system in ASEAN-Singapore chapter 2 source of law. Singapore Legal System, Singapore: ASEAN Law Association, 1-7. Retrieved form https://www.aseanlawassociation.org/papers/sing_chp2.pdf
Immigrant Procedures. (2012, 6 September). Brunei: Ministry of foreign affairs and trade. Retrieved from https://www.mofat.gov.bn/index.php?option=com_k2&view=item&layout=item&id=333&Itemid=253.
Investment Allowances, Business and Investment Incentives. (2012, 1 September). Brunei: The Brunei Economic Development Board. Retrieved from https://www.bedb.com.bn/doing_incentives_investment.html.
Koh, P. M. (1996). Foreign judgments in ASEAN: A proposal. International & Comparative Law Quarterly, 45(4), 844-860.
Report on The Public Policy Exception in the New York Convention. (2015, October). USA: New York Arbitrtation Convention. Retrieved from https://www.ibanet.org/Document/Default.aspx?DocumentUid=C1AB4FF4-DA96-49D0-9AD0-AE20773AE07E
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
เนื้อหาและข้อมูลในบทความที่ลงตีพิมพ์ในวารสารสุทธิปริทัศน์ ถือเป็นข้อคิดเห็นและความรับผิดชอบของผู้เขียนบทความโดยตรงซึ่งกองบรรณาธิการวารสาร ไม่จำเป็นต้องเห็นด้วย หรือร่วมรับผิดชอบใดๆ
บทความ ข้อมูล เนื้อหา รูปภาพ ฯลฯ ที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารสุทธิปริทัศน์ ถือเป็นลิขสิทธิ์ของวารสารสุทธิปริทัศน์หากบุคคลหรือหน่วยงานใดต้องการนำทั้งหมดหรือส่วนหนึ่งส่วนใดไปเผยแพร่ต่อหรือเพื่อกระทำการใด ๆ จะต้องได้รับอนุญาตเป็นลายลักษณ์อักษรจากวารสารสุทธิปริทัศน์ก่อนเท่านั้น