ความสำเร็จของระบบสารสนเทศที่มีผลต่อพฤติกรรมการชำระเงินผ่านโมบายแบงก์กิ้ง (Mobile Banking) ของผู้บริโภคในกรุงเทพมหานคร
คำสำคัญ:
ความสำเร็จของระบบสารสนเทศ, พฤติกรรมการชำระเงินผ่านโมบายแบงก์กิ้งบทคัดย่อ
งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาพฤติกรรมการชำระเงินผ่านโมบายแบงก์กิ้งของผู้บริโภคในกรุงเทพมหานคร 2) เพื่อศึกษาปัจจัยส่วนบุคคลของผู้บริโภคในกรุงเทพมหานครที่มีผลต่อพฤติกรรมการชำระเงินผ่านโมบายแบงก์กิ้ง และ 3) เพื่อศึกษาความสำเร็จของระบบสารสนเทศที่มีผลต่อพฤติกรรมการชำระเงินผ่านโมบายแบงก์กิ้งของผู้บริโภคในกรุงเทพมหานคร กลุ่มตัวอย่างที่ใช้วิจัยครั้งนี้คือ ผู้ที่ใช้โมบายแบงก์กิ้งในกรุงเทพมหานคร โดยได้กำหนดขนาดตัวอย่างจำนวน 410 ตัวอย่าง โดยใช้การสุ่มตัวอย่างแบบโควต้า ทำการเก็บรวบรวมข้อมูลด้วยแบบสอบถาม และทดสอบสมมติฐานด้วยสถิติ Chi-Square Test ผลการวิจัยพบว่า ปัจจัยส่วนบุคคลของผู้บริโภคในกรุงเทพมหานคร มีผลกระทบต่อพฤติกรรมการชำระเงินผ่านโมบายแบงก์กิ้งและยังพบว่า ความสำเร็จของระบบสารสนเทศทั้ง 3 ด้าน คือ ด้านคุณภาพของระบบ ด้านคุณภาพของข้อมูลและด้านคุณภาพของการบริการ มีผลกระทบต่อพฤติกรรมการชำระเงินผ่านโมบายแบงก์กิ้งของผู้บริโภคในกรุงเทพมหานครอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05
References
จักรพงษ์ ลีลาธนาคีรี, และธัญวรัตน์ สุวรรณะ. (2561). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการยอมรับการทำธุรกรรมทางการเงินบนสมาร์ทโฟนในเขตกรุงเทพและปริมณฑล (การค้นคว้าอิสระบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต). ปทุมธานี: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี.
จุฑารัตน์ เกียรติรัศมี. (2558). ปัจจัยที่มีผลต่อการซื้อสินค้าผ่านทางแอพพลิเคชั่นออนไลน์ของผู้บริโภคในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล (การค้นคว้าอิสระบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
ณัฐพัชร์ อภิรุ่งเรืองสกุล, และประสพชัย พสุนนท์. (2561). การวิเคราะห์ปัจจัยที่มีผลต่อการทำธุรกรรมทางการเงินผ่าน QR Code ในเขตกรุงเทพมหานคร. วารสารปัญญาภิวัฒน์, 10(ฉบับพิเศษ), 26-40.
ดรอยด์แซนส์. (2562). คนไทยขึ้นแท่นแชมป์โลก สัดส่วนผู้ใช้บริการ Mobile Banking สูงสุด 74% ของผู้ใช้อินเทอร์เน็ตทั่วโลก. สืบค้น 19 พฤษภาคม 2562, จาก https://droidsans.com/thailand-mobile-banking-2019-to-cashless-society/
ทวี สมบัติกุลธนะ. (2545). เจนเนอเรชั่นเอกซ์-วาย กับความท้าทายทางการตลาด. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์ดอกแก้ว.
ไทยรัฐออนไลน์. (2561). โพลชี้ช็อปออนไลน์ฮอตฮิตซื้อเสื้อ-กางเกงมากสุด. สืบค้น 19 พฤษภาคม 2562, จาก https://www.thairath.co.th/news/business/market-business/1292081.
ธนวรรณ สำนวนกลาง. (2559). การยอมรับเทคโนโลยีการทำธุรกรรมทางการเงินรูปแบบ M-banking (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
ธนาคารแห่งประเทศไทย. (2561). ธุรกรรมการเงินผ่านบริการ Mobile banking และ Internet banking. สืบค้น 1 เมษายน 2562, จาก https://www.bot.or.th/App/BTWS_STAT/statistics/BOTWEBSTAT.aspx?reportID=688&language=TH.
นนทวัฒน์ เยาวสังข์. (2556). พฤติกรรมการทำธุรกรรมอิเล็กทรอนิกส์ที่ส่งผลกระทบต่อการออม (การค้นคว้าอิสระบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต). ปทุมธานี: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี.
นีลเส็น ประเทศไทย. (2559). นีลเส็นเผยพฤติกรรมคนไทยใช้มือถือเน้นเล่นเกมส์-ทำธุรกรรมทางการเงินมากขึ้น. สืบค้น 1 เมษายน 2562, จาก https://www.marketingoops.com/reports/research/unveiling-smartphone-behavior/
มงคล นิมิตภักดีกุล. (2557). ปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจยกเลิกบริการธุรกรรมการเงินผ่านแอพพลิเคชั่น (การค้นคว้าอิสระเศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
ราวดี จันปุ่ม. (2545). ปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจในการเลือกใช้บริการร้านค้าปลีกของผู้บริโภค (ภาคนิพนธ์ ศศ.ม.). กรุงเทพฯ: สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์.
วรรณพร หวลมานพ. (2558). พฤติกรรมและความพึงพอใจของผู้ใช้แอพพลิเคชั่นเคโมบายแบงก์กิ้งพลัสของธนาคารกสิกรไทย จำกัด (มหาชน) ในเขตกรุงเทพมหานคร (การค้นคว้าอิสระวารสารศาสตร์มหาบัณฑิต). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
วรัญญา โพธิ์ไพรทอง. (2556). ปัจจัยที่ส่งผลต่อการตัดสินใจซื้อเสื้อผ้าจากร้านค้าออนไลน์ (การค้นคว้าอิสระบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
สุณิสา ตรงจิตร์. (2559). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจซื้อสินค้าออนไลน์ผ่านช่องทางตลาดกลางพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ (E-Marketplace) (การค้นคว้าอิสระบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
สุภาวรรณ ชัยทวีวุฒิกุล. (2555). พฤติกรรมการซื้อสินค้าและบริการออนไลน์แบบร่วมกลุ่มกันซื้อบนเว็บไซต์ ENSOGO ของลูกค้าในเขตกรุงเทพมหานคร (สารนิพนธ์บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
Baptista, G., & Oliveira, T. (2015). Understanding mobile banking: The unified theory of acceptance and use of technology combined with cultural moderators. Computers in Human Behavior, 50, 418-430.
Chung, N., & Kwon, S.J. (2009). Effect of trust level on mobile banking satisfaction: A multi-group analysis of information system success instruments. Behaviour and Information Technology, 28(6), 549-562.
Cochran, W. G. (1963). Sampling techniques (2nd ed.). New York: John Wiley and Sons.
DeLone, W. H., & McLean, E. R. (2003). The DeLone and McLean model of information systems success: A ten-year update. Journal of Management Information Systems, 19(4), 9-30.
Kotler, P., & Keller, K. (2012). Marketing management (14th ed.). Pearson Education.
Li, T. (2013). Applying the is success model to mobile banking apps. Alberta: University of Lethbridge.
Techsauce. (2561). Compare 2 apps from big banks K plus vs SCB easy. Retrieved May 19, 2019, from https://techsauce.co/tech-and-biz/comparing-k-plus-and-scb-eas
Zoghlami, A. T., Berraies, S., & Yahia, K. B. (2018). From mobile service quality evaluation to e-word-of-mouth: What makes the users of mobile banking applications speak Abo.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
เนื้อหาและข้อมูลในบทความที่ลงตีพิมพ์ในวารสารสุทธิปริทัศน์ ถือเป็นข้อคิดเห็นและความรับผิดชอบของผู้เขียนบทความโดยตรงซึ่งกองบรรณาธิการวารสาร ไม่จำเป็นต้องเห็นด้วย หรือร่วมรับผิดชอบใดๆ
บทความ ข้อมูล เนื้อหา รูปภาพ ฯลฯ ที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารสุทธิปริทัศน์ ถือเป็นลิขสิทธิ์ของวารสารสุทธิปริทัศน์หากบุคคลหรือหน่วยงานใดต้องการนำทั้งหมดหรือส่วนหนึ่งส่วนใดไปเผยแพร่ต่อหรือเพื่อกระทำการใด ๆ จะต้องได้รับอนุญาตเป็นลายลักษณ์อักษรจากวารสารสุทธิปริทัศน์ก่อนเท่านั้น