ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อปัญหาด้านจรรยาบรรณสื่อโทรทัศน์ในยุคดิจิทัล

ผู้แต่ง

  • ภาณุพงษ์ ทินกร สาขาการสื่อสารเชิงกลยุทธ์ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ
  • พรพรหม ชมงาม ภาควิชาการประชาสัมพันธ์ คณะนิเทศศาสตร์ มหาวิทยากรุงเทพ

คำสำคัญ:

ปัจจัยภายนอก, ปัจจัยภายใน, ยุคดิจิทัล, จรรยาบรรณ, สื่อโทรทัศน์

บทคัดย่อ

งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อปัญหาด้านจรรยาบรรณสื่อโทรทัศน์ในยุคดิจิทัล การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ โดยวิธีการเชิงสำรวจ ใช้แบบสอบถามที่มีคำถามแบบปลายปิดในการเก็บข้อมูลกับกลุ่มตัวอย่าง 100 คน เป็นสื่อมวลชนประเภทโทรทัศน์โดยตรง ทำงานอยู่ในกองบรรณาธิการข่าวหรืออยู่ในฝ่ายข่าวของสถานีโทรทัศน์ฟรีทีวีระบบดิจิทัลออกอากาศภาคพื้นดิน นำการหาค่าการถดถอยเชิงเส้นแบบถ่วงน้ำหนัก ร่วมกับการวิเคราะห์เส้นทางมาใช้เพื่อทดสอบสมมติฐาน ผลวิจัยที่ได้พบว่าผู้ประกอบวิชาชีพสื่อมวลชนประเภทโทรทัศน์ ตระหนักถึงปัญหาจรรยาบรรณสื่อโทรทัศน์ในยุคดิจิทัลที่เกิดขึ้น ปัจจัยภายในองค์กรมีผลต่อปัญหาจรรยาบรรณสื่อมวลชน ได้แก่ นโยบายของบริษัทเจ้าของสื่อ บุคลากรในองค์กรระดับตัดสินใจเช่น บรรณาธิการและหัวหน้าข่าว

References

เทียนทิพย์ เดียวกี่. (2559). จริยธรรมและจรรยาบรรณสื่อในการนำเสนอข่าวยุคดิจิทัล. วารสารการสื่อสารและการจัดการ นิด้า, 2(2), 125-143.

พีระ จิรโสภณ. (2548). ทฤษฎีการสื่อสารมวลชน หน่วยที่ 10. นนทบุรี: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.

สกุลศรี ศรีสารคาม. (2557). จริยธรรมการใช้สื่อออนไลน์และสื่อสังคมในกระบวนการสื่อข่าวของสื่อไทยในยุคดิจิทัล (รายงานผลการวิจัย). กรุงเทพฯ: สภาการหนังสือพิมพ์แห่งชาติ.

สุรสิทธิ์ วิทยารัฐ. (2554). ทฤษฎีบทบาทสื่อมวลชนกำลังถูกท้าทายสื่อใหม่. สืบค้นจาก https://www.tja.or.th/index.php?option=com_content&view=article&id=2427%3A2011-05-18-07-28-47&catid=46%3Aacademic&Itemid=75

Bradshaw, P. (2007). A model for the 21st century newsroom: pt1- the news diamond. Retrieved from https://onlinejournalismblog.com/2007/09/17/a-model-for-the-21st-century-newsroom-pt1-the-news-diamond/

Bruns, A. (2005). Gatewatching: Collaborative online news production. New York, USA.

Hair, J. F. (1998). Multivariate data analysis with readings. Englewood Cliffs, NJ: Prentice-Hall.

Merrill, J. (2000). The imperative of freedom, quoted In Bruce D.Itule, and Douglas A. Anderson, News Writing and Reporting for Today’s Media. p. 400. Boston: McGraw-Hill College.

Eugenia, M., & Boczkowski, J. (2009). Between tradition and change: A review of recent research in online news production. Journalism, 10, 562-578.

Pavlik, J. (1999). Journalism and new media. New York: Columbia University Press.

Quinn, G., & Trench, B. (2002). Online new media and their audience, Heerlen. The Netherlands: Mudia, International Institute of Infonomics.

Singer, J. (2004). Stepping back from the gate: Online newspaper editors and the co-production of content in campaign 2004. Journalism and Mass Communications Quarterly, 83(2), 265-280.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2020-03-30

How to Cite

ทินกร ภ., & ชมงาม พ. (2020). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อปัญหาด้านจรรยาบรรณสื่อโทรทัศน์ในยุคดิจิทัล. วารสารสุทธิปริทัศน์, 34(109), 245–256. สืบค้น จาก https://so05.tci-thaijo.org/index.php/DPUSuthiparithatJournal/article/view/242310