การศึกษาวัฒนธรรมดนตรีของกลุ่มชาติพันธุ์ไทยใหญ่ในกรุงเทพมหานคร
คำสำคัญ:
กลุ่มชาติพันธุ์ไต (ไทใหญ่), วัฒนธรรมบทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อการศึกษาวัฒนธรรมของกลุ่มชาติพันธุ์ไต (ไทใหญ่) ใน กรุงเทพมหานคร โดยการศึกษานี้ได้ใช้วิธีทางมานุษยดุริยางควิทยาเป็นแนวทางในการศึกษาโดยมี จุดมุ่งหมายของการศึกษาคือ ศึกษาวัฒนธรรมของกลุ่มชาติพันธุ์ไต (ไทใหญ่) ในกรุงเทพมหานครผลการ ศึกษาพบว่าวัฒนธรรมประเพณีวิถีชีวิตของกลุ่มชาติพันธุ์ไต (ไทใหญ่) ในกรุงเทพมหานครยังคงดำรงรักษาไว้ ได้ดีเฉกเช่น เดียวกับกลุ่มชาติพันธุ์ไต (ไทใหญ่) ในสถานที่อื่น ๆ ศิลปะวัฒนธรรมของกลุ่มชาติพันธุ์ไตยังมี ความคล้ายคลึงกันกับประเพณีและวัฒนธรรมต่าง ๆ ของชาวไทย เช่น งานประเพณีวันขึ้นปีใหม่ งานประเพณี วันสงกรานต์ งานประเพณีวันวันเข้าพรรษาออกพรรษา
References
จุไรรัตน์ วรรณศิริ, และเลหล้า ตรีเอกานุกูล. (2552). การดำรงอยู่ของอัตลักษณ์ชาติพันธุ์ไตหย่าในประเทศไทย: กรณีศึกษาจังหวัดเชียงราย. มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย, 6-25.
ปิลันธน์ ไทยสรวง. (2544). ชาวไทใหญ่ในกรุงเทพฯ. จดหมายข่าวมูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ์, 88, 3-7.
วสันต์ ปัญญาแก้ว. (2550). เสียงไตลื้อการเดินทาง/เคลื่อนที่ของพลเมืองลื้อ สิบสองปันนา. วารสารสังคมศาสตร์,19(2), 30-32.
ศิริพร สุรินทร์ศิริรัฐ. (2560). ฟ้อนนกกิ่งกะหล่า: ครูส่างคำ จางยอด. สักทอง : วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ (สทมส.), 23(1), 3.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
เนื้อหาและข้อมูลในบทความที่ลงตีพิมพ์ในวารสารสุทธิปริทัศน์ ถือเป็นข้อคิดเห็นและความรับผิดชอบของผู้เขียนบทความโดยตรงซึ่งกองบรรณาธิการวารสาร ไม่จำเป็นต้องเห็นด้วย หรือร่วมรับผิดชอบใดๆ
บทความ ข้อมูล เนื้อหา รูปภาพ ฯลฯ ที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารสุทธิปริทัศน์ ถือเป็นลิขสิทธิ์ของวารสารสุทธิปริทัศน์หากบุคคลหรือหน่วยงานใดต้องการนำทั้งหมดหรือส่วนหนึ่งส่วนใดไปเผยแพร่ต่อหรือเพื่อกระทำการใด ๆ จะต้องได้รับอนุญาตเป็นลายลักษณ์อักษรจากวารสารสุทธิปริทัศน์ก่อนเท่านั้น