การศึกษาเปรียบเทียบประสิทธิภาพการผลิตระหว่างเจ้าของที่ดินกับผู้เช่าที่ดินในการผลิตภาคเกษตรกรรมในประเทศไทย: กรณีศึกษาของจังหวัดสุพรรณบุรี กาญจนบุรี นครสวรรค์ และนครราชสีมา

ผู้แต่ง

  • ศิริพร สัจจานันท์ คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยกรุงเทพธนบุรี
  • อรพรรณ ศรีเสาวลักษณ์ สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
  • ศิรชญาน์ การะเวก สาขาวิชาคณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยกรุงเทพธนบุรี

คำสำคัญ:

เช่าที่ดิน, เจ้าของที่ดิน, ประสิทธิภาพ

บทคัดย่อ

การศึกษาในครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาเปรียบเทียบผลกระทบของปัจจัยการเช่าที่ดินหรือ การเป็นเจ้าของที่ดิน ที่มีผลต่อประสิทธิภาพการผลิต โดยพิจารณาจากผลผลิตและค่าใช้จ่ายในการลงทุน ใน 4 จังหวัด ได้แก่ สุพรรณบุรี กาญจนบุรี นครสวรรค์ และนครราชสีมา จากการวิเคราะห์ ANOVA เพื่อดูประสิทธิภาพการผลิตระหว่างเกษตรกรเจ้าของที่ดินและ ผู้เช่าที่ดิน ไม่สามารถสรุปได้ว่าการเช่าที่ดินเป็นตัวแปรสำคัญที่ส่งผลต่อผลิตผลและการลงทุนในปัจจัย การผลิตของเกษตรกร และจากการวิเคราะห์โดยใช้ Propensity Score Matching พบว่า (1) เกษตรกรที่ เป็นเจ้าของที่ดินมักเป็นผู้ทำการเกษตรมาเป็นระยะเวลานานกว่าเกษตรกรผู้เช่า (2) เกษตรกรผู้เช่าที่ดินมี แนวโน้มขายสินค้าได้ในราคาที่ต่ำกว่าเกษตรกรเจ้าของที่ดิน (3) เกษตรกรผู้เช่ามีหนี้สินมากกว่าเกษตรกร เจ้าของที่ดิน และ (4) เกษตรกรผู้เช่าเกือบทั้งหมดไม่ทราบว่ามีคณะกรรมการเช่าที่ดินประจำตำบล

References

ฉัตร ช่ำชอง. (2522). หลักการจัดการฟาร์ม. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ชาญการพิมพ์ 90-94.

ทองโรจน์ อ่อนจันทร์. (2521). การปฏิรูปที่ดินเพื่อพัฒนาการเศรษฐกิจของประเทศไทย: ปัญหาและนโยบาย. สืบค้น 15 สิงหาคม 2558, จาก http://ag-ebook.lib.ku.ac.th/ebooks/2014/20140220/files/assets/basic-html/index.html#page1.

วิษณุ อรรถวานิช. (2558). การประเมินผลกระทบของโครงการรับจำนำข้าวที่มีต่อสถานะทางเศรษฐกิจของเกษตรกรไทย. กรุงเทพ: สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.).

ศิริพร สัจจานันท์ และคณะ. (2559). โครงการศึกษาสภาพการเช่าที่ดินเพื่อเกษตรกรรมในประเทศไทย. กรุงเทพฯ: สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย

สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร. (2559). สถิติการเกษตรของประเทศไทย ปี พ.ศ. 2557. กรุงเทพฯ: สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร.

Abadie, A. and Imbens, G. (2006). Large sample properties of matching estimators for average treatment effects. Econometrica, 74(1). 235-267.

Chuang, S. (1969). The Theory of Share Tenancy. University of Chicago Press.

Currie, J. M. (1981). The Economic Theory of Agricultural Land Tenure. Cambridge University Press.

Deininger, K. (2003). Land Policies for Growth and Poverty Reduction. A World Bank Policy Research Report. สืบคืน 1 พฤศจิกายน 2558, จาก http://documents.worldbank.org/curated/en/485171468309336484/310436360_20050007001644/additional/multi0page.pdf.

Food and Agriculture Organization. (2004). Leasing Agricultural Land. สืบค้น 1 พฤศจิกายน 2558, จาก http://www.fao.org/3/a-y5513e.pdf.

Ghosh, J. 1988. The Determination of land rent in a non-capitalist agriculture: North India, 1860-1930. Modern Asian Studies, 22.(2), 355-382.

Krishna, K. Ashok, M. and Samarendu, M. (2016). Impact of Land ownership on productivity and efficiency of rice farmers: the case of the Philippines. Journal of Land Use Policy. Vol 50. pp.371-378.

Ming-Hsuan, Lee. (2011). Land ownership and productivity in early twentieth century China: the role of incentives. International Journal of Development Issues. Vol 10, Issue 2. pp.141-153.

Quan, J. (2005). Land Access in the 21st Century: Issues, Trends, Linkage and Policy Options. Paper Prepared for Land Tenure Service, Rural Development Division-FAO.

Rosenbaum, P. R. and Rubin, D. B. (1983). The central role of the propensity score in observational studies for causal effects. Biometrika 70(1), pp.41–55.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2020-06-15