วัฒนธรรมประชานิยมจากการชมและเชียร์กีฬาฟุตบอลไทยลีก

ผู้แต่ง

  • ธีร์ คันโททอง

คำสำคัญ:

วัฒนธรรมประชานิยม, ฟุตบอลไทยลีก

บทคัดย่อ

งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาวัฒนธรรมประชานิยม (Popular Culture) ที่เกิดจากการชมและเชียร์ของแฟนบอล โดยรวบข้อมูลจากแหล่งข้อมูลประเภทเอกสาร (Documentary Analysis) ผู้วิจัยได้ มีการร่วมเข้าชมฟุตบอลกับแฟนบอลของสโมสรฟุตบอลการท่าเรือ เอฟซี ผลการศึกษาพบว่า พฤติกรรมของแฟนบอลที่เกิดจากการชมและเชียร์ฟุตบอลของแฟนบอลไทยลีกนั้นทำให้เกิดวัฒนธรรมประชานิยมประกอบไปด้วย (1) วัฒนธรรมแฟนคลับ (2) วัฒนธรรมท้องถิ่นนิยม (3) วัฒนธรรมดาราฟุตบอล (4) วัฒนธรรมการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ (5) วัฒนธรรมความรุนแรง (6) วัฒนธรรมการเล่นการพนัน และ (7) วัฒนธรรมสตรีนิยม ซึ่งวัฒนธรรมประชานิยมนี้ได้แผ่ขยายมาพร้อมกับกีฬาฟุตบอลจากสังคมตะวันตกเข้ามาสู่สังคมไทยและก็ได้รับการยอมรับจากสังคมไทยเป็นอย่างดี กลายมาเป็นส่วนหนึ่งในวิถีชีวิตของผู้คน ซึ่งจะเห็นได้จากกระแสการติดตามชมและเชียร์ฟุตบอลไทยลีกของแฟนบอลที่ปรากฎผ่านทางสื่อต่างๆ และยังช่วยสร้างความประทับใจในบรรยากาศการชมและเชียร์ให้กับแฟนบอลที่เข้ามาชม และเชียร์ในสนามซึ่งจะทำให้กลับมาชมและเชียร์อีกครั้ง

References

กาญจนา แก้วเทพ, และทิฆัมพร เอี่ยมเรไร. (2554). การสื่อสาร ศาสนา กีฬา. กรุงเทพฯ: ห้างหุ้นส่วนภาพพิมพ์.

กฤษณะ เชื้อชัยนาท. (2557). การสื่อสารกับการสร้างเครือข่ายและอัตลักษณ์กองเชียร์ของสโมสรฟุตบอลไทยพรีเมียร์ลีก (ปริญญานิพนธ์ปริญญาดุษฎีบัณฑิต). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์.

กุลวิชย์ สำแดงเดช. (2551). การใช้สื่อเพื่อสร้างและธำรงรักษาอัตลักษณ์ของแฟนบอลสโมสรฟุตบอลชลบุรี (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

กอบกาญจน์ พุทธาศรี, วรางคณา อดิศรประเสริฐ, และศุภิณญา ญาณสมบูรณ์. (2555). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความรักและความภักดีต่อสโมสรฟุตบอลไทยพรีเมียร์ลีก. วารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม, 6(1), 159–170.

ชื่นชนก ศิริวัฒน์. (2555). วัฒนธรรมฟุตบอลและการเมืองของท้องถิ่นนิยม: กรณีศึกษาสโมสรฟุตบอลชลบุรี. (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ชัยวัฒน์ ชลานันต์. (2557). อิทธิพลภาพลักษณ์สโมสรฟุตบอลและความนิยมในภาพลักษณ์นักกีฬาฟุตบอลที่มีชื่อเสียงส่งผลต่อพฤติกรรมการติดตามรับชมการแข่งขันฟุตบอลไทย. (วิทยานิพนธ์ปริญญา มหาบัณฑิต). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยกรุงเทพ.

ณัฐวุฒิ พลศรี. (2556). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความตั้งใจเข้าชมการแข่งขันฟุตบอลอาชีพไทยพรีเมียร์ลีก. (ปริญญานิพนธ์ปริญญาดุษฎีบัณฑิต). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.

ดวงพร บญกมลสวัสดิ์. (2549). พฤติกรรมการชมฟุตบอลต่างประเทศผ่านสื่อโทรทัศน์ของแฟนบอลชาวไทย. (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ทีมข่าวสังคม. (2556, 13 กันยายน). ผลวิจัยชี้ “เพื่อน-ทีวี” ปัจจัยสำคัญทำนักศึกษาติดการพนัน. news. thaipbs. สืบค้น 18 พฤศจิกายน 2560 จาก http://news.thaipbs.or.th/content/195624

ทีมข่าวExclusive. (2552, 5 พฤศจิกายน). Localism จุดระเบิดชลบุรี เอฟซี. positioningmag. สืบค้น 18 ตุลาคม 2560. จาก https://positioningmag.com/12078.

ธนาคม พจนาพิทักษ์, และวิโรจน์ ศรีหิรัญ. (2555). การรายงานข่าวของสื่อหนังสือพิมพ์ฟุตบอลกับการโน้มเอียงไปในทางส่งเสริมการเล่นพนันฟุตบอลของเยาวชนในช่วงการแข่งขันฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรป (ยูโร 2012) (รายงานการวิจัย). กรุงเทพฯ: สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ.

เนตรนภา ประกอบกิจ. (2545). พัฒนาการของวัฒนธรรมฟุตบอลต่างประเทศในสังคมไทย พ.ศ. 2509 – 2544. (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

บุปผา ลาภะวัฒนาพันธ์. (2557). ความสัมพันธ์ระหว่างการเปิดรับข่าวสารกับทัศนคติ และพฤติกรรมการเล่นการพนันของนิสิตนักศึกษาในสถาบันอุดมศึกษาทั่วประเทศ (รายงานการวิจัย). กรุงเทพฯ: สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย.

ปีดิเทพ อยู่ยืนยง. (2555, 15 กันยายน). ผลจากโศกนาฏกรรมฮิลส์โบโร ค.ศ.1989 ต่อกฎหมายกีฬาอังกฤษ: มองจากอดีต ปัจจุบัน และอนาคต. ประชาไท. สืบค้น 18 พฤศจิกายน 2560, จาก https://prachatai.com/journal/2012/09/42654

ประชาชาติธุรกิจการตลาด. (2560, 20 มกราคม). ช้าง-สิงห์-SCG แข่งแหลกสปอนเซอร์ไทยลีก“สิงห์-ไทยเบฟ” ทุ่มไม่อั้น. ประชาชาติธุรกิจออนไลน์. สืบค้น 20 ตุลาคม พ.ศ. 2560 จาก http://www.prachachat.net/news_detail.php?newsid=1484722825

พีระ จิระโสภณ. (2548). ทฤษฎีการสื่อสารมวลชน. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.

พิสิษฐิกุล แก้วงาม. (2554). ภาพของแฟนบอลสาวสวยกับความเป็นหญิงและความเป็นชายในสังคมไทย. สถาบันวิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล. วารสารเพศวิถีศึกษา 1(1), 69-86.

รังสรรค์ ธนะพรพันธุ์. (2544). กีฬาในระบบทุนวัฒนธรรม. กรงุเทพฯ: บ้านพระอาทิตย์.

เล่าเรื่องเรื่องเหล้า วัยรุ่น ชายหรือวัยรุ่น หญิงใครคือนักดื่มตัวจริง. (2556, สิงหาคม-ตุลาคม). จดหมายข่าวศูนย์วิจัยปัญหาสุรา. 5(3). สืบค้น 20 ตุลาคม 2560, จาก www.cas.or.th

วสันต์ ปัญญาแก้ว. (2543). พนันบอล อำนาจ และความเป็นชาย (รายงานการวิจัย). กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

วสันต์ ปัญญาแก้ว. (2557). พนันบอล อำนาจ และความเป็นชาย. (รายงานการวิจัย). กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ศิริชัย ศิริกายะ, และกาญจนา แก้วเทพ. (2531). ทฤษฎีการสื่อสารมวลชน. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ศรัญญา พิลามา. (2557). การสื่อสารเพื่อบริหารความสัมพันธ์กับกลุ่มแฟนคลับ สโมสรฟุตบอลเอสซีจีเมืองทอง ยูไนเต็ด (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์.

ศศธร ตันติหาชัย. (2555). การพัฒนาแนวทางการป้องกันพฤติกรรมความรุนแรงในการชมกีฬาฟุตบอล. (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยมหิดล.

สายชล ปัญญชิต. (2553). ฟุตบอลแฟนคลับในสังคมไทยสมัยใหม่: ศึกษากรณีสโมสรเมืองทองหนองจอกยูไนเต็ด. (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

สุขุม หวังพระธรรม. (2553). จากวีรบุรุษสู่ผู้มีชื่อเสียง: การสื่อสารกับการสร้างภาพลักษณ์ดาราฟุตบอลไทย. (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

สมสุข หินวิมาน. (2540). ทฤษฎีวิพากษ์แนวมาร์กซีสต์สำนักแฟรงค์เฟิร์ตกับการวิเคราะห์อุตสาหกรรมสื่อมวลชนไทย. วารสารนิเทศศาสตร์. 15(1). 6-14.

อาจินต์ ทองอยู่คง. (2556). บทบาทของอินเทอร์เน็ตในวัฒนธรรมแฟน: กรณีศึกษาการเติบโตของวัฒนธรรมแฟนบอลไทย. วารสารศาสตร์ 6(3), 172-197.

อาจินต์ ทองอยู่คง. (2557). ฟุตบอลไทย ประวัติศาสตร์ อำนาจ การเมือง และความเป็นชาย: แฟบอลแอลกอฮอลล์ และความรุนแรงในฟุตบอลไทย (รายงานการวิจัย). กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

Back, L., Crabbe, T. & Solomos, J. (2001). The Changing Face of Football: Racism, Identity and Multiculture in the English Game. Oxford, UK: Berg.

Carnibella, G., Fox, A., Fox, K., McCann, J., Marsh, J., & Marsh, P. (1996). Football Violence in Europe. Oxford, UK: Berg.

Coakley, J. (2003). Sport in society: Issues and controversies. Boston: McGraw-Hill Higher Education.

Collins, T. & Vamplew, W. (2002). Mud, Sweat and Beers: A Cultural History of Sport and Alcohol. Oxford and New York: Berg.

McQuail, D. (1994). Mass communication Theory. (3rd ed). London, UK: Sage Publications.

Smith, C.J. (2008). Cosmopolitan Culture and consumerism in Chick Lit. London, UK: Routledge.

Strinati, D. (2004). An Introduction to Theories of Popular Culture. London, UK: Routledge.

Zagnoli, P., & Elena, R. (2010, November). The Football Fan Community as a Determinant Stakeholder in Value co-Creation. Sport Management Laboratory, 13(10), 1532-1551.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2020-06-16