ปัญหาทางกฎหมายเรื่องความยินยอมของผู้บริจาคอวัยวะที่เสียชีวิตและผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง
คำสำคัญ:
ความยินยอม, การปลูกถ่ายอวัยวะ, การบริจาคบทคัดย่อ
บทความเรื่องนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัญหาทางด้านกฎหมายเกี่ยวกับการให้ความยินยอม ของผู้บริจาคอวัยวะที่เสียชีวิตและผู้มีส่วนเกี่ยวข้องและมาตรการทางกฎหมายในการควบคุมการปลูกถ่าย อวัยวะในประเทศไทย โดยศึกษาเปรียบเทียบกับแนวทางการปลูกถ่ายอวัยวะขององค์การอนามัยโลก (World Health Organization) หรือ WHO และมาตรการทางกฎหมายของบางประเทศ เช่น สาธารณรัฐ สิงคโปร์ สหราชอาณาจักร และสหรัฐอเมริกา เป็นต้น
จากการศึกษา พบว่ายังขาดหลักเกณฑ์เริ่มต้นของกฎหมายที่กำหนดผู้ที่มีอำนาจ ขั้นตอนและ วิธีการให้ความยินยอมในการบริจาคอวัยวะกับกฎหมายการให้ความยินยอมในการบริจาคอวัยวะและ กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับความผิด และการยกเว้นความผิดทางกฎหมายของบุคลากรทางการแพทย์จาก การปลูกถ่ายอวัยวะ ซึ่งหลักกฎหมายบางหลัก เช่น หลักเรื่องความยินยอม หลักความสงบเรียบร้อยและ ศีลธรรมอันดีของประชาชน หลักเสรีนิยม ก็สามารถที่จะนำมาปรับใช้ได้
ดังนั้นแล้วการที่ไม่มีกฎหมายเฉพาะเรื่องผู้เขียนจึงได้เสนอให้มีการบัญญัติกฎหมายเฉพาะ เป็น ร่างพระราชบัญญัติว่าด้วยการปลูกถ่ายอวัยวะและการบริจาคอวัยวะมนุษย์หลังการตายเพื่อประโยชน์ใน การรักษาพยาบาล
References
ข้อบังคับแพทยสภาว่าด้วยการรักษาจริยธรรมแห่งวิชาชีพเวชกรรม (ฉบับที่ 5) พ.ศ. 2560. สืบค้น 15 กรกฎาคม 2561, จาก http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2560/E/070/26.PDF
ข้อบังคับแพทยสภาว่าด้วยการรักษาจริยธรรมแห่งวิชาชีพเวชกรรม (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2551. เรื่องการตายของบุคคล. สืบค้น 15 กรกฎาคม 2561, จาก https://www.tmc.or.th/download/jul09-01.pdf
ข้อบังคับแพทยสภาว่าด้วยการรักษาจริยธรรมแห่งวิชาชีพเวชกรรม พ.ศ. 2549. สืบค้น 15 กรกฎาคม 2561, จาก https://www.tmc.or.th/news_file/tmc-rule-2549.pdf
คณิต ณ นคร. (2545). กฎหมายอาญาภาคความผิด (พิมพ์ครั้งที่ 8). กรุงเทพฯ: วิญญูชน.
ฉัตรแก้ว สอนศิริ. (2555). ความรับผิดทางอาญาของแพทย์ผู้กระทำการปลูกถ่ายอวัยวะจากคนตาย (วิทยานิพนธ์ ปริญญามหาบัณฑิต). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
ชนภัทร วินยวัฒน์. (2551). ความยินยอมในการรักษาพยาบาล: สิทธิของผู้ป่วยที่ถูกละเลย. วารสารนิติศาสตร์, 1, 95-117.
ทวีเกียรติ มีนะกนิษฐ. (2555). ประมวลกฎหมายอาญา (พิมพ์ครั้งที่ 28). กรุงเทพฯ: วิญญูชน.
ประกาศแพทยสภาที่ 7/2554. เรื่องหลักเกณฑ์และวิธีการวินิจฉัยสมองตาย. สืบค้น 15 กรกฎาคม 2561, จาก https://www.tmc.or.th/download/7_54.pdf
พิชัยศักดิ์ หรยางกูร, และณัฐนันทน์ อัศวเลิศศักดิ์, (ม.ป.ป.). หน่วยที่ 2 หลักความสงบเรียบร้อยและศีลธรรมอันดีของประชาชน. สืบค้น15 กรกฎาคม 2561, จาก http://www.stou.ac.th/schools/slw/upload/ex.40701-2.pdf
พิชัยศักดิ์ หรยางกูร, และนริศรา แดงไผ่. (ม.ป.ป.). หน่วยที่ 3 หลักความยินยอม. สืบค้น 15 กรกฎาคม 2561, จาก http://www.stou.ac.th/Schools/Slw/upload/Ex%2040701-3.pdf
ไพจิตร ปุญญพันธุ์. (2558). คำอธิบายประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ลักษณะละเมิด (พิมพ์ครั้งที่ 14). กรุงเทพฯ: นิติบรรณการ.
เมธี วงศ์ศิริสุวรรณ. (2549). กฎหมายกับการประกอบวิชาชีพเวชกรรม. กรุงเทพฯ: บุ๊คเน็ท.
สมยศ เชื้อไทย. (2556). ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ (พิมพ์ครั้งที่ 10). กรุงเทพฯ: วิญญูชน.
สุรสิทธิ์ แสงวิโรจนพัฒน์. (ตุลาคม-ธันวาคม 2547). ความยินยอมที่ที่พึงสันนิษฐานได้ตามกฎหมายอาญาเยอรมัน. บทบัณฑิตย์, 60, 160-169.
Human Tissue (Scotland) Act 2006. Retrieved July 3, 2018, from https://www.legislation.gov.uk/asp/2006/4/contents
Human Tissue Authority. (n.d.). Code A guiding principle and the fundamental principle of consent. 2017. Retrieved July 3, 2018, from https://www.hta.gov.uk/sites/default/files/HTA%20Code%20A_1.pdf
Human Tissue Authority. (n.d.). Code F donation of solid organs and tissue for transplantation. Retrieved July 3, 2018, from https://www.hta.gov.uk/sites/default/files/files/HTA%20Code%20F.pdf
Human Transplantation (Wales) Act 2013. Retrieved July 3, 2018, from http://www.legislation.gov.uk/anaw/2013/5/contents/enacted
The Medical (Therapy, Education and Research) Act (MTERA). Retrieved July 3, 2018, from https://sso.agc.gov.sg/Act/MTERA1972
The statues of Republic of Singapore Human Organ Transplant Act (Chapter 131A) (2012). Retrieved July 15, 2018, from https://sso.agc.gov.sg/Act/HOTA1987
World Health Organization. (n.d.). Guiding principles on human cell, tissue and organ transplantation. Retrieved July 18, 2018, from http://www.who.int/transplantation/Guiding_PrinciplesTransplantation_WHA63.22en.pdf
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
เนื้อหาและข้อมูลในบทความที่ลงตีพิมพ์ในวารสารสุทธิปริทัศน์ ถือเป็นข้อคิดเห็นและความรับผิดชอบของผู้เขียนบทความโดยตรงซึ่งกองบรรณาธิการวารสาร ไม่จำเป็นต้องเห็นด้วย หรือร่วมรับผิดชอบใดๆ
บทความ ข้อมูล เนื้อหา รูปภาพ ฯลฯ ที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารสุทธิปริทัศน์ ถือเป็นลิขสิทธิ์ของวารสารสุทธิปริทัศน์หากบุคคลหรือหน่วยงานใดต้องการนำทั้งหมดหรือส่วนหนึ่งส่วนใดไปเผยแพร่ต่อหรือเพื่อกระทำการใด ๆ จะต้องได้รับอนุญาตเป็นลายลักษณ์อักษรจากวารสารสุทธิปริทัศน์ก่อนเท่านั้น