รูปแบบการนิเทศการสอนเพื่อส่งเสริมทักษะการคิดระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน

ผู้แต่ง

  • พาสนา ชลบุรพันธ์ วิทยาลัยครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์
  • สินธะวา คามดิษฐ์ College of Education Sciences, Dhurakij Pundit University.
  • พิณสุดา สิริธรังศรี วิทยาลัยครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์

คำสำคัญ:

การนิเทศการสอน, ทักษะการคิด

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสภาพปัจจุบัน ปัญหาความต้องการและนำเสนอรูปแบบการนิเทศการสอน เป็นวิจัยเชิงผสมการวิจัยเชิงปริมาณผู้ให้ข้อมูล จำนวน 400 คน เครื่องมือคือแบบสอบถาม สถิติที่ใช้ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การวิจัยเชิงคุณภาพ ผู้ให้ข้อมูลจากการสัมภาษณ์ จำนวน 9 คน และสนทนากลุ่มของผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 10 คน เครื่องมือ แบบสัมภาษณ์และแบบตรวจสอบรูปแบบการนิเทศการสอน วิเคราะห์ข้อมูลเชิงเนื้อหา

ผลการวิจัยพบว่า สภาพปัจจุบันและความต้องการการนิเทศการสอนโดยภาพรวม มีค่าเฉลี่ย อยู่ในระดับมาก ด้านที่มีการปฏิบัติมากที่สุด คือ จัดกิจกรรมการนิเทศการสอน ด้านเทคนิคและวิธีการ นิเทศการสอนมีความต้องการมากที่สุดและรูปแบบการนิเทศการสอนมี 4 หลักการ ได้แก่ หลักคุณภาพ หลักการมีส่วนร่วม หลักบูรณาการและความต่อเนื่องและหลักความทันสมัยของเทคโนโลยีและข้อมูลที่ ถูกต้อง

References

เกรียงศักดิ์ เจริญวงศักดิ์. (2546). การคิดเชิงวิเคราะห์. กรุงเทพฯ: ซัคเซสมีเดีย.

ทิศนา แขมมณี. (2551). วิทยาการด้านการคิด. กุรงเทพฯ: เดอะมาสเตอร์กรุ๊ป.

พิมพันธ์ เดชะคุปต์. (2560). ทักษะ 7 C ของครู 4.0. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

พรรณมาศ พรมพิลา. (2553). ปัจจัยด้านกระบวนการที่ส่งผลต่อการนิเทศการสอนในโรงเรียนสังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น. (วิทยานิพนธ์ปริญญาดุษฎีบัณฑิต). นครปฐม: มหาวิทยาลัยศิลปากร.

ไพรินทร์ เหมบุตร. (2556). กลยุทธ์การนิเทศเพื่อพัฒนาครูมืออาชีพในเครือข่ายการนิเทศที่ 18. (วิทยานิพนธ์ปริญญาดุษฎีบัณฑิต). กำแพงเพชร: มหาวิทยาลัยราชภัฎกำแพงเพชร.

มาเรียม นิลพันธุ์.(2553). รายงานการวิจัย เรื่อง การประเมินโครงการยกระดับคุณภาพครูทั้งระบบกิจกรรมการพัฒนานิเทศแนวใหม่. นครปฐม: มหาวิทยาลัยศิลปากร.

วรรณพร สุขอนันต์. (2550). รูปแบบการนิเทศภายในสำหรับสถานศึกษาขนาดเล็ก. (วิทยานิพนธ์ปริญญาดุษฎีบัณฑิต). นครปฐม: มหาวิทยาลัยศิลปากร.

วัชรา เล่าเรียนดี. (2553). การนิเทศการสอน. นครปฐม: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยศิลปากร.

วไลรัตน์ บุญสวัสดิ์. (2538). หลักการนิเทศการศึกษา. กรุงเทพฯ: พรศิวการพิมพ์.

สมาน อัศวภูมิ. (2551, ธันวาคม). แนวทางการส่งเสริมการปฏิบัติหน้าที่ของคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานให้มีประสิทธิภาพ และประสิทธิผล.วิทยาจารย์,108(2), 55-56.

สงัด อุทรานันท์. (2530). การนิเทศการศึกษา:หลักการทฤษฎีและปฏิบัติ. กรุงเทพฯ: บัตรสยาม.

สำนักงานคณะกรรมการการประถมศึกษาแห่งชาติ. (2541). ชุดฝึกอบรมผู้บริหารสถานศึกษาระดับสูงเล่ม 3 บริหารศาสตร์. กรุงเทพฯ: พีเอลิฟวิง.

สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. (2556). แนวทางการนิเทศเต็มพิกัด. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จำกัด.

สุดารัตน์ สารสว่าง.(2556). เทคนิคการนิเทศแบบสอนแนะและการเป็นพี่เลี้ยง Coaching and Mentoring เพื่อพัฒนาครู. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.

สุเดือนเพ็ญ คงคะจันทร์. (2550). Coaching/Mentoring. เอกสารประกอบการอบรมหลักสูตรนักบริหารงานส่งเสริมสุขภาพ ระดับกลาง. สมุทรสาคร: มปท.

อดุลย์ วงศ์ก้อม. (2552). รูปแบบการนิเทศของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา. (วิทยานิพนธ์ปริญญาดุษฎีบัณฑิต). นครปฐม: มหาวิทยาลัยศิลปากร.

Harris, B.M. (1985). Supervisory Behavior in Education. New Jersey: Prentice Hall

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2020-06-19