การปรับตัวข้ามวัฒนธรรม: ความสำเร็จทางวิชาการและทางสังคมของนักศึกษาจีนในวิทยาลัยแห่งหนึ่งของประเทศมาเลเซีย

ผู้แต่ง

  • ตงฉี ซี มหาวิทยาลัยเกษตรยูนนาน คุนหมิง ประเทศจีน
  • บงกชมาศ เอกเอี่ยม วิทยาลัยบริหารศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้

คำสำคัญ:

นโยบายหนึ่งแถบกับอีกหนึ่งเส้นทาง, นักศึกษาจีน, การปรับตัวข้ามวัฒนธรรม, ความสำเร็จทางวิชาการและทางสังคม

บทคัดย่อ

งานวิจัยนี้ศึกษาการปรับตัวข้ามวัฒนธรรมความสำเร็จด้านวิชาการและสังคมของนักศึกษาจีนในวิทยาลัยแห่งหนึ่งของประเทศมาเลเซีย วัตถุประสงค์ของการศึกษาคือ (1) เพื่ออธิบายว่าทำไมนักศึกษาจีนจึงเลือกศึกษาต่อในประเทศอิสลาม เช่นประเทศมาเลเซีย และ (2) เพื่อศึกษาการปรับตัวของนักศึกษาจีนและวิเคราะห์ปัจจัยที่มีผลต่อความสำเร็จทางวิชาการและสังคมผลการสัมภาษณ์แสดงให้เห็นว่า (1) เหตุผลที่นักศึกษาจีนเลือกเรียนในประเทศมาเลเซีย ได้แก่ นโยบายหนึ่งแถบกับอีกหนึ่งเส้นทาง การเปรียบเทียบค่าใช้จ่ายในการเรียนและการใช้ชีวิตในมาเลเซีย มีค่าใช้จ่ายความต้องการพัฒนาภาษาอังกฤษและประสบการณ์ในวัฒนธรรมอิสลาม (2) จากผลการวิเคราะห์การถดถอยพบว่าการปรับตัวทางจิตวิทยาและสังคม มีความสัมพันธ์อย่างมีนัยสำคัญกับความสำเร็จทางสังคมและวิชาการในด้านการปรับตัว ทางจิตวิทยาความพึงพอใจในชีวิตมีผลในเชิงบวกอย่างมีนัยสำคัญต่อความสำเร็จทางสังคมและวิชาการ ส่วนด้านการปรับตัวทางสังคมเพื่อนความสามารถในการหาเพื่อนและเครือข่ายมีอิทธิพลในเชิงบวกอย่างมีนัยสำคัญต่อความสำเร็จทางสังคมและวิชาการ

References

Abdul Kadir, A. (1970). Hikayat Abdullah [Abdullah’s story]. (A. H. Hill, Trans). Kuala Lumpur, Malaysia: Oxford University Press.

Altbach, P.G. (1991). Impact and adjustment: Foreign students in comparative perspective. Higher Education, 21(5), 305-324.

Benson, P.G. (1978). Measuring cross-cultural adjustment: The problem of criteria. International Journal of intercultural Relations, 2, 21-37.

Chao, M. M., Takeuchi, R., & Farh, J. L. (2017). Enhancing cultural intelligence: The roles of implicit culture beliefs and adjustment. Personnel Psychology, 70(1), 257-292.

Dunn, J. W. (2006). Academic adjustment of Chinese graduate students in United States Institution of higher education (Doctoral Dissertation). USA: University of Minesota.

Gullahorn, J. T., & Gull ahorn, J. E. (1963). An extension of the U-curve hypothesis. Journal of Social Issues, 19, 33-47.

Hong, Q. (2014). New silk road: One belt and one road. Confucius Institute Magazine, 34(5). Readers Club Confucius, Special Focus Readers Club Confucius, Special Focus, from https://confuciusmag.com/features/special/focus/new-Silk-road

Kim, Y. Y. (2003). Adapting to an unfamiliar culture: An interdisciplinary overview. In W. B. Gudykunst (Ed.), Cross-cultural and intercultural communication. (pp.243-257). Thousand Oaks, CA: Sage.

Lysgaard, S. (1995). Adjustment in foreign society: Norwegian Full bright grantees visiting the United States. International Social Science Bulletin, 7, 45-51.

Ward, C., & Kennedy, A. (1993). Where’s the culture in cross-cultural transition? Comparative studies of sojourner adjustment. Journal of Cross-Cultural Psychology, 24(2), 221-249.

Ward, C. (1996). Acculturation. In D. Landis & R. S. Bhagat (Eds.). Handbook of intercultural training (pp. 124-147). Thousand Oaks, CA, US: Sage Publications.

Xu X. (2015). National belt and road initiative strategy: Opportunities and challenges for the Eurasian Continental Bridge Logistics Industry. Development Research, 1, 65-68.

Zhang, Q. (2004). Self-efficacy and intercultural adaptation of Chinese students at U.S. Universities. International & Intercultural Communication Annual, 27, 103-120.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2020-06-22