อิทธิพลของทัศนคติที่มีต่อกระบวนการตัดสินใจซื้อบรรจุภัณฑ์ที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมในเขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร
คำสำคัญ:
ทัศนคติ, กระบวนการตัดสินใจซื้อ, บรรจุภัณฑ์เพื่อสิ่งแวดล้อมบทคัดย่อ
การศึกษาในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาอิทธิพลของทัศนคติที่มีต่อกระบวนการตัดสินใจซื้อบรรจุภัณฑ์ที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมของผู้บริโภคในเขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร กลุ่มตัวอย่างในการวิจัยครั้งนี้ คือ ผู้ที่ซื้อบรรจุภัณฑ์ที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมในเขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร เขตจัตุจักร จำนวน 400 คน โดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บข้อมูล ทดสอบสมมติฐานด้วยการวิเคราะห์การถดถอยแบบพหุคูณ (Multiple Regression Analysis)
ผลจากการวิจัย พบว่า ทัศนคติด้านประโยชน์ใช้สอย ด้านการสะท้อนภาพลักษณ์ ด้านการป้องกันความเป็นตัวเอง และด้านหน้าที่ในด้านความรู้มีอิทธิพลต่อกระบวนการตัดสินใจ ซื้อด้านการรับรู้ปัญหาและด้านการประเมินผลทางเลือก
ต่อมาด้านประโยชน์ใช้สอย ด้านการสะท้อนภาพลักษณ์ ด้านการป้องกันความเป็นตัวเองและด้านหน้าที่ในด้านความรู้มีอิทธิพลต่อกระบวนการตัดสินใจซื้อด้านการค้นหาข้อมูลข่าวสาร ด้านการตัดสินใจซื้อและด้านพฤติกรรมภายหลังการซื้อ
References
กนกอร นิลวรรณจะณกุล, และ ปวีณา คำพุกกะ. (2556). ความรู้และทัศนคติที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมการซื้อสินค้าที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมของผู้บริโภคในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ. วารสารบริหารศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี, 2(3), 65-83.
กรวินท์ กรประเสริฐวิทย์. (2557). ทัศนคติความรู้ความเข้าใจ พฤติกรรม และคุณลักษณะการใช้งานของเทคโนโลยี ที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจในการใช้เครื่องชำระค่าโทรศัพท์อัตโนมัติ ของประชาชนในกรุงเทพมหานครปี 2558 (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยกรุงเทพ.
กัลยา วานิชย์บัญชา. (2554). การวิเคราะห์สถิติ: สถิติสำหรับการบริหารและวิจัย. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
กาญจน์ศิตา กรพัชร์พรสกุล, และพิพัฒน์ นนทนาธรณ์. (2559). อิทธิพลของผู้บริโภคสีเขียวและจิตสาธารณะที่ส่งผลต่อความ ตั้งใจซื้อผลิตภัณฑ์. วารสารสมาคมนักวิจัย, 21(3),123-131.
เกศรินทร์ ลิลิตตระกูล, และ รัชนีวรรณ ยืนยงมงคลชัย. (2557). ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ต่อการตัดสินใจซื้อผลิตภัณฑ์เพื่อสิ่งแวดล้อมของผู้บริโภค ในจังหวัดกรุงเทพมหานคร (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ.
เกษม จันทร์แก้ว. (2558). การจัดการสิ่งแวดล้อมในอนาคต. วารสารสมาคมนักวิจัย, 20(1), 13-19.
โกมลมณี เกตตะพันธ. (2559). พฤติกรรมการบริโภคผลิตภัณฑ์ที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). สงขลา: มหาวิทยาลัยทักษิณวิทยาเขตสงขลา.
จริยา มหาเทียร. (2559). การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (ปริญญานิพนธ์ปริญญาดุษฎีบัณฑิต). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
จริยา ศรีจรูญ. (2557). การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (ปริญญานิพนธ์ปริญญาดุษฎีบัณฑิต). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
จารุวดี แก้วมา. (2559). ค่านิยมของผู้บริโภคและประเภทของผลิตภัณฑ์ที่ส่งผลต่อการตัดสินใจซื้อผลิตภัณฑ์ที่ ใช้แนวคิดการออกแบบผลิตภัณฑ์อนุรักษ์สิ่งแวดล้อม (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยกรุงเทพ.
จีราพร จุละกะ, และดาริณี ตัณฑวิเชฐ. (2560). พฤติกรรมในการตัดสินใจซื้อสินค้าผ่านสื่อสังคมออนไลน์ของนักศึกษาระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยเอกชนแห่งหนึ่ง. วารสารรวมบทความวิจัยบริหารธุรกิจและเศรษฐศาสตร์ธุรกิจ, 6(1), 1-10.
ชมจันทร์ ดาวเดือน. (2558). การพัฒนาและออกแบบผลิตภัณฑ์กระเป๋าสตรีจากผ้าทอโบราณบ้านผาทั่ง จังหวัดอุทัยธานี. วารสารวิชาการ ศิลปะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร, 6(1), 121-133.
ชมพูนุท กิตติดุลยการ. (2558). การศึกษากระบวนการตัดสินใจซื้อผลิตภัณฑ์เสริมอาหารของผู้บริโภค ในเขตกรุงเทพมหานคร (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
ณัฎฐพงศ์ วิงวอน, และ ดาริณี ตัณฑวิเชฐ. (2560). ปัจจัยทางการตลาดที่มีผลต่อการตัดสินใจเลือกศึกษาต่อระดับปริญญาโท ของนักศึกษามหาวิทยาลัยเอกชนแห่งหนึ่ง. วารสารรวมบทความวิจัยบริหารธุรกิจและเศรษฐศาสตร์ธุรกิจ, 6(1), 20-31.
ณัฐณิชา นิสัยสุข, และขวัญกมล ดอนขวา (2558). ปัจจัยที่มีผลต่อพฤติกรรมการซื้อผลิตภัณฑ์ที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมของผู้บริโภค. วารสารชุมชนวิจัย มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา, 9(2), 57-67.
ธานินทร์ ศิลป์จารุ. (2557). การวิจัยและวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติด้วย SPSS และ AMOS. กรุงเทพฯ: บริษัท เอส อาร์ พริ้นติ้งแมสโปรดักด์ จำกัด.
ธีรวุฒิ เอกะกุล. (2543). ระเบียบวิธีวิจัยทางพฤติกรรมศาสตร์และสังคมศาสตร์ (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต).อุบลราชธานี: สถาบันราชภัฎอุบลราชธานี.
ธีระดา ภิญโญ. (2558). ความสำเร็จตามพันธกิจการวิจัยของมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา. วารสารบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภฏัสวนสุนันทา, 10(2), 101-115.
ประพิธาริ์ ธนารักษ์. (2559). ปัจจัยที่มีผลต่อพฤติกรรมการเลือกซื้อ ผลิตภัณฑ์ลดโลกร้อนของผู้บริโภค. วารสารการจัดการสิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยนเรศวร, 12(1), 70-81.
ปันรสี โกศลานันท์. (2558). ภาพลักษณ์ของตราสินค้าพานาโซนิค ในการรับรู้ของลูกค้า ในเขตกรุงเทพมหานคร (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
ปารมี พัฒนดุล. (2559). ปัจจัยที่มีผลต่อการตั้งใจซื้อผลติภัณฑ์เพื่อสิ่งแวดล้อมของผู้บริโภค อำเภอปากเกร็ด จังหวัดนนทบุรี (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยศิลปากร.
วรุตม์ ประไพพักตร์. (2556). ปัจจัยพฤติกรรมผู้บริโภคและปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดบริการที่ส่งผลต่อกระบวนการตัดสินใจ ซื้อสินค้าประเภทเครื่องครัวในเขตอำเภอเมือง จังหวัดระยอง (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยกรุงเทพ.
วีรภัทร วัสสระ. (2558). การศึกษาการรับรู้ของผู้บริโภคและปัจจัยที่มผีลต่อการตัดสินใจซื้อสินค้า อุปโภคบริโภคที่ออกแบบเพื่อสิ่งแวดล้อม (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
สถานการณ์ปัญหาขยะในประเทศไทย. (2561, 6 กรกฎาคม). School of changemakers. สืบค้น 12 ธันวาคม 2561, จาก https://www.schoolofchangemakers.com/knowledge/11678.
สมฤดี นิโครวัฒนยิ่งยง, และเสริน ปุณณะหิตานนท์. (2559). ความตระหนักในการใช้บรรจุภัณฑ์ที่ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม. วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยปทุมธานี, 8(1), 21-26.
สิริณัฏฐ์ สดประเสริฐ. (2558). การรับรู้และพฤติกรรมการแสดงความคิดเห็น หลังชมละครโทรทัศน์ ผ่านเครือข่ายสังคมออนไลน์ ประเภท เฟสบุ๊ค (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
สุกัญญา หมู่เย็น. (2559). พฤติกรรมการบริโภคสินค้าสีเขียวของประชาชนใน ตำบลบางปรอก อำเภอเมือง จังหวัดปทุมธานี (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). ปทุมธานี: มหาวิทยาลัยปทุมธานี.
สุกัญญา หมู่เย็น, และวีรนุช กาญจนพิบูลย์. (2558). พฤติกรรมการเลือกซื้อสินค้าอาหารสำเร็จรูปที่ใช้บรรจุภัณฑ์ที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมของผู้ซื้อ ในตลาดริมน้ำวัดศาลเจ้า ตำบลบ้านกลาง อำเภอเมือง จังหวัดปทุมธานี (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). ปทุมธานี: มหาวิทยาลัยปทุมธานี.
เอ็มอาร์จีออนไลน์. (2561, 27 กุมภาพันธ์). ประเทศไทยรุกช่วยโลก ลดขยะในทะเล. ผู้จัดการออนไลน์. สืบค้น 12 ธันวาคม 2561, จาก https://mgronline.com/greeninnovation/detail/9610000020153.
BLT. (2560). ขยะวาระแห่งชาติ. สืบค้น 12 ธันวาคม 2561, จาก http://www.bltbangkok.com/CoverStory.
González Boubeta, I., Fernández Vázquez, M., Domínguez Caamaño, P., & Prado Prado, J. (2018). Economic and environmental packaging sustainability: A case study. Journal of Industrial Engineering and Management, 11(2), 229-238. doi:http://dx.doi.org/10.3926/jiem.2529
Hair, J. F., Jr., Black, W. C., Babin, B. J., Anderson, R. E., & Tatham, R. L. (2010). Multivariate data analysis (7th ed.). New Jersey: Pearson Prentice Hall.
Katz, D. (1960). The functional approach to the study of attitudes. Public Opinion Quarterly, 24(2), 163-204. from https://doi.org/10.1086/266945
Kotler, P. (2015). Marketing management (Global Edition). London: A Pearson Education Company.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
เนื้อหาและข้อมูลในบทความที่ลงตีพิมพ์ในวารสารสุทธิปริทัศน์ ถือเป็นข้อคิดเห็นและความรับผิดชอบของผู้เขียนบทความโดยตรงซึ่งกองบรรณาธิการวารสาร ไม่จำเป็นต้องเห็นด้วย หรือร่วมรับผิดชอบใดๆ
บทความ ข้อมูล เนื้อหา รูปภาพ ฯลฯ ที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารสุทธิปริทัศน์ ถือเป็นลิขสิทธิ์ของวารสารสุทธิปริทัศน์หากบุคคลหรือหน่วยงานใดต้องการนำทั้งหมดหรือส่วนหนึ่งส่วนใดไปเผยแพร่ต่อหรือเพื่อกระทำการใด ๆ จะต้องได้รับอนุญาตเป็นลายลักษณ์อักษรจากวารสารสุทธิปริทัศน์ก่อนเท่านั้น