โซเชียลมีเดีย: เทคโนโลยีแห่งตัวตนและการสร้างอัตลักษณ์ในยุคสังคมหลังสมัยใหม่
คำสำคัญ:
ตัวตน, อัตลักษณ์, สื่อใหม่, โซเชียลมีเดีย, โซเชียลเน็ตเวิร์ค, ออนไลน์บทคัดย่อ
บทความชิ้นนี้เป็นการศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างโซเชียลมีเดียกับการสร้างตัวตนและอัตลักษณ์ ของมนุษย์ในยุคสังคมหลังสมัยใหม่ โดยศึกษาวิเคราะห์เชื่อมโยงแนวคิดเกี่ยวกับสื่อโซเชียลมีเดียและ แนวคิดด้านการสร้างอัตลักษณ์ ซึ่งใช้กรอบแนวคิดด้านตัวตนและอัตลักษณ์ในมุมมองด้านจิตวิทยาสังคม และวัฒนธรรมศึกษาจากนักคิดต่างๆ ทั้งที่ล่วงลับไปแล้ว อาทิ Marx (1818-1883) Erikson (1902-1994) Tajfel (1919-1982) Baudrillard (1929-2007) Foucault (1926-1984) และ Hall (1932-2014) รวมทั้ง นักวิชาการ ในยุคปัจจุบัน อาทิ Turkle (1948-ปัจจุบัน) และ Gidden (1938-ปัจจุบัน) ในการทำความเข้าใจถึงกระบวนการสร้าง ตัวตนและอัตลักษณ์ เพื่อเชื่อมโยงกับบริบทของสื่อใหม่อย่างสื่อโซเชียลมีเดียในยุคปัจจุบัน ผลการวิเคราะห์ สรุปได้ว่า โซเซียลมีเดียเป็นพื้นที่เสมือนจริงสำหรับมนุษย์ในยุคสังคมดิจิทัลได้ใช้ในการสำรวจและค้นหา “วัตถุดิบ” เพื่อใช้ในการสร้างตัวตนและอัตลักษณ์ รวมทั้งเป็นพื้นที่ในการแสดงออกและทดสอบทาง อัตลักษณ์ภายใต้วาทกรรมของอำนาจและบริบททางสังคมที่อาศัยอยู่
References
สำนักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็คทรอนิกส์ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร. (2559). ผลการสำรวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเตอร์เน็ตในประเทศไทยประจำปี พ.ศ.2559. สืบค้นจาก www.etda.or.th/publishing-detail/thailand-internet-user-profile-2016-th.html
A. Jones and K. Russell (2016). What does your Instagram say about you? Retrieved August7th, 2016, from http://www.cosmopolitan.co.uk
ฺBoyd, D. (2008). Taken out of context. (Doctoral Thesis). California, USA: University of California, Berkeley.
Boyd, D. and Ellison, N.B. (2007). Social Network Sites: Definition, History, and Scholarship. Journal of Contemporary-Mediated Communication, 13(1), 210-230.
Castells, M. (2006). The net and the self: Working notes for a critical theory of the informational society. Critique of Anthropology, 16(1), 9-38.
Erikson, E.H. (1968). Identity, youth, and crisis. New York: Norton.
Foucault, M. (1988). Technologies of the self, in L.H. Martin,H. Gutman, P. H. Hutton, Technologies of the Self: A Seminar with Michael Foucault (pp. 16-49). London: Tavistock.
Giddens, A. (1991) Modernity and Self-Identity, Cambridge: Polity Press.
Hall, S. (1992). The Question of Cultural Identity, in S. Hall and T. McGrew (eds.), Modernity and its Future, Cambridge: Polity Press.
Hill, J. (2000). Film and Postmodernism, in J. Hill and P. C. Gibson (eds.), Film Studies: critical Approaches. Oxford: Oxford University Press.
Kittler, F. (1999). Gramophone, Film, Typewriter. Stanford, CA: Stanford University.
Marx, K. (1852). The 18th Brumaire of Napoleon Bonaparte, Retrieved December 14th, 2016, from http://www.marxists.org.
Mayfield, A. (2007). What is social media?, Retrieved December 14th, 2016, from http://www.icross-ing.co.uk.
Siapera, E. (2012). Understanding new media. London: Sage.
Tajfel, H. (1981). Human Groups and Social Categories: Studies in Social Psychology. Cambridge: Cambridge University Press.
Turkel, S. (1999).Cyberspace and Identity. Contemporary Sociology. 28(6), 643-648
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
เนื้อหาและข้อมูลในบทความที่ลงตีพิมพ์ในวารสารสุทธิปริทัศน์ ถือเป็นข้อคิดเห็นและความรับผิดชอบของผู้เขียนบทความโดยตรงซึ่งกองบรรณาธิการวารสาร ไม่จำเป็นต้องเห็นด้วย หรือร่วมรับผิดชอบใดๆ
บทความ ข้อมูล เนื้อหา รูปภาพ ฯลฯ ที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารสุทธิปริทัศน์ ถือเป็นลิขสิทธิ์ของวารสารสุทธิปริทัศน์หากบุคคลหรือหน่วยงานใดต้องการนำทั้งหมดหรือส่วนหนึ่งส่วนใดไปเผยแพร่ต่อหรือเพื่อกระทำการใด ๆ จะต้องได้รับอนุญาตเป็นลายลักษณ์อักษรจากวารสารสุทธิปริทัศน์ก่อนเท่านั้น