เวชศาสตร์ชะลอวัยและฟื้นฟูสุขภาพคืออะไร?

ผู้แต่ง

  • มาศ ไม้ประเสริฐ

คำสำคัญ:

เวชศาสตร์ชะลอวัยและฟื้นฟูสุขภาพ, ภาวะสุขภาพสมบูรณ์สูงสุด, การดูแลสุขภาพแบบองค์รวม, ความชรา

บทคัดย่อ

“เวชศาสตร์ชะลอวัยและฟื้นฟูสุขภาพ” เริ่มมีคนคุ้นเคยกับคำคำนี้กันมากขึ้น ทั้งในประเทศไทยและทั่วโลก แต่ส่วนใหญ่ยังคงเข้าใจผิดและไม่รู้อย่างลึกซึ้งในความหมายและกรอบความคิดของศาสตร์ แขนงนี้อย่างจริงจัง จึงนำมาสู่การใช้ศาสตร์แขนงนี้ในทางที่ผิด และรวมทั้งการไม่ได้รับการยอมรับ จากเวชศาสตร์แพทย์แผนปัจจุบันอีกด้วย เวชศาสตร์ชะลอวัยและฟื้นฟูสุขภาพเป็นการดูแลสุขภาพแบบองค์รวมในทุก ๆ ด้านที่ส่งผลกระทบต่อสุขภาพ เพื่อให้ร่างกายมีสุขภาพแบบสมบูรณ์สูงสุด โดยใช้หลักการทางวิทยาศาสตร์สุขภาพในการค้นหาสาเหตุ การตรวจวินิจฉัย และการให้คำแนะนำการปรับเปลี่ยน พฤติกรรมหรือแนวทางการรักษาต่าง ๆ ที่อ้างอิงมาจากการศึกษาค้นคว้าวิจัยที่เชื่อถือได้ ซึ่งจัดเป็นเวชศาสตร์ป้องกันอย่างแท้จริง ที่ข้อปฏิบัติต่าง ๆ ที่ปรับเปลี่ยนไปตามลักษณะเฉพาะของแต่ละบุคคล อันจะนำมาซึ่งการชะลอความเสื่อม ความชรา และโรคภัยไข้เจ็บต่าง ๆ อย่างได้ผลที่สามารถพิสูจน์ได้

References

การแพทย์ทางเลือก. สืบค้นเมื่อ 30 ตุลาคม 2559, จากวิกิพีเดีย https://th.wikipedia.org/wiki/การแพทย์ทางเลือก.

ธรรมชาติบำบัด. สืบค้นเมื่อ 30 ตลุาคม 2559, จากวิกิพิเดีย https://th.wikipedia.org/wiki/ธรรมชาติบำบัดNormalDistribution. สืบค้นเมื่อ 30 ตุลาคม 2559, จากวิกิพีเดีย https://th.wikipedia.org/wiki/NormalDistribution

Chung, H.Y., Sung, B., Jung, K.J., Zou, Y., Yu B.P., (2006). The molecular inflammatory process in aging. Antioxid Redox Signal., 8(3-4), 572-81.

Csiszar, A., Wang, M., Lakatta, E.G., Ungvari, Z. Inflammation and endothelial dysfunction during aging: role of NF-kappaB. J Appl Physiol (1985). 105(4), 1333-41.

David, R. (2012). Integrative Medicine. (Third Edition) U.S.A.: Elsevier Store.

Jones, D.S., Bennett, P., Bland, J.S., Galland, L., Hedaya, R.J., Houston M., et al. (2010). Textbook of Functional Medicine. (Third Printing) U.S.A.: The Institute for Funtional Medicine. Harman, D. (1992). Free Radical Theory of Aging. Mutat Res. 275(3–6), 257-66.

Hertoghe, T. (2010). The Hormone Handbook (2nd edition). Luxemburg: International Medical Books.

Hollowell, JG., Staehling, NW., Flanders, WD., Hannon, WH., Gunter, EW., Spencer, CA., Braverman, LE., (2002). Serum TSH, T(4), and thyroid antibodies in the United States population (1988 to 1994): National Health and Nutrition Examination Survey (NHANES III). J Clin Endocrinol Metab. 87(2), 489-99.

Kohen, R., and ANyska, A. Oxidation of Biological Systems: Oxidative Stress Phenomena, Antioxidants, Redox Reactions, and Methods for Their Quantification. Toxicol Pathol. 30(6), 620-50.

Minich, D.M. and Bland, J.S. (2007). Acid-Alkaline Balance: Role in chronic disease and detoxification: Alternative Therapies in Health and Medicine, 13(4), 12-5.

Pizzoro, J.E. and Murray, M.T., (Editors). (2012). Textbook of Natural medicine (4th edition). U.S.A.: Elsevier Store.

Song, X., Bao, M., Li, D., Li, Y.M. (1999). Advanced glycation in d-galactose induced mouse aging model. Mech Ageing Dev. 108(3), 239-51.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2020-06-30